Page 56 - kpiebook66004
P. 56
56
หรือ ‘Grexit’ จึงได้มีการเรียกข้อเสนอนี�ของสหภาพิยุโรปว่าเป็นการรัฐประหารโดยสหภาพิยุโรปในการข่มขู่กึ�ง
บัังคับัให้รับัข้อเสนอ ดังนั�น Tsipras จึงเลือกทางออกที�ดีที�สุดให้กับักรีซแล้ว ซึ�งแน่นอนว่าฝ่่ายค้าน พิรรค ND
ก็เห็นด้วยกับัข้อตกลงนี� จึงทำให้การทำข้อตกลงผ่านในสภาของกรีซได้ แต่การแก้ต่างนั�นก็ไม่ได้ทำให้ความ
176
จริงที�ว่าซิริซ่าไม่ได้ทำตามประชามติของประชาชนที�เรียกร้องให้ไม่รับัข้อเสนอและออกจากสหภาพิยุโรป ซึ�ง
ผลที�ตามมานั�นก็อาจทำให้ซิริซ่าไม่สามารถทำตามนโยบัายที�ใช้หาเสียงและดึงดูดประชาชนให้มาลงคะแนนเลือกตั�ง
ให้ได้ เช่น การเพิิ�มสวัสดิการหรือเพิิ�มการจ้างงาน เป็นต้น เพิราะการจะทำให้รัฐเป็นสวัสดิการแบับัดั�งเดิมนั�น
จะทำโดยไม่ตัดขนาดกับัระบับัโลกในปัจจุบัันนั�นคงเป็นไม่ได้ อีกทั�งการที�ซิริซ่าแสดงตัวว่าเป็นปฏิิปักษ์กับัสหภาพิยุโรป
ตั�งแต่แรก ก็ทำให้ฟากฝ่ั�งของสหภาพิยุโรปนั�นเห็นว่าซิริซ่านั�นเป็นตัวอันตราย ซึ�งไม่เป็นมิตร แต่ท้ายที�สุดก็กลับั
ต้องยอมให้กับัข้อตกลงของสหภาพิยุโรป ทำให้การยืนอยู่ครึ�ง ๆ กลาง ๆ ของซิริซ่า นอกจากจะสูญเสียศูักยภาพิ
ในการเปลี�ยนแปลงอย่างถึงรากแล้ว ยังไม่สามารถปฏิิบััติตามแนวทางที�ทำข้อตกลงไว้ เช่น มาตรการรัดเข้มขัด/
เข้มงวดทางเศูรษฐกิจ ได้อีกด้วย ทางเลือกนี�จึงเป็นปัญหาของการบัริหารรัฐของฝ่่ายซ้าย ไม่แม้แต่เพิียงกรณีีของ
ซิริซ่า 177
แน่นอนว่าสิ�งนี�จึงส่งผลให้การหาเสียงของซิริซ่าในการเลือกตั�งเดือนมกราคม และกันยายน 2015 นั�น
แตกต่างกัน ซึ�งในเดือนมกราคมนั�นซิริซ่าได้ใช้การหาเสียงที�เคยพิูดมาโดยตลอด ซึ�งหนักไปในแง่เศูรษฐกิจ เช่น
จะไม่เอานโยบัายรัดเข็มขัดทางเศูรษฐกิจ จะสร้างสวัสดิการ ปฏิิรูประบับัเศูรษฐกิจ และกระตุ้นการจ้างงาน
แต่ในเดือนกันยายนนั�นเปลี�ยนเป็นการอธิ์ิบัายถึงความจำเป็นในการยอมรับัข้อตกลง และการกล่าวถึงความแตกต่าง
ระหว่างพิรรคเก่า ND และ พิรรคใหม่ซิริซ่า ว่าซิริซ่าจะก้าวผ่านวิกฤตที�เรื�อรังจากพิรรคฝ่ีมือของพิรรคเก่า และ
จะพิากรีซพิ้นวิกฤตให้ได้ โดยการยืนอยู่เคียงข้างประชาชน ซึ�งในช่วงหลังนั�น นโยบัายพิรรคและการหาเสียงนั�น
178
ผูกติดกับัตัวของผู้นำพิรรค ซึ�งก็คือตัวของ Tsipras มากขึ�น มากกว่าที�จะพิูดถึง “ประชาชน” เป็นหลัก 179
เมื�อซิริซ่าชนะเลือกตั�งในเดือนกันยายนอีกครั�ง ซิริซ่าได้เปลี�ยนเป้าไปที�การคอรรัปชั�นของพิรรคเก่า โดยการ
เล่นบัทบัาทที�อิงกับัคุณีธิ์รรมมากขึ�น เพิราะในเรื�องเศูรษฐกิจนั�น ถูกกำหนดด้วยข้อตกลงที�ทำกับัสหภาพิยุโรป
ทำให้ไม่สามารถเปลี�ยนแปลงได้มาก ซิริซ่าจึงเน้นไปที�การทำสงครามกับัการทุจริต เชื�อมโยงว่าทำให้เกิดปัญหา
ทางเศูรษฐกิจและสังคม อีกทั�งก็ยังพิยายามดำเนินนโยบัายในทางสังคมที�เป็นนโยบัายก้าวหน้ามากขึ�น เช่น
การให้สัญชาติกับัผู้อพิยพิรุ่นที�สอง การให้สิทธิ์ิ�จดทะเบัียนกับัคู่รักเพิศูเดียวกัน การให้สิทธิ์ิ�คู่รักเพิศูเดียวกันในการ
รับัอุปการะบัุตรบัุญธิ์รรม หรือการให้สิทธิ์ิ�เปลี�ยนแปลงอัตลักษณี์ทางเพิศูสำหรับับัุคคลที�อายุเกิน 15 ปี เป็นต้น
ซึ�งบัางส่วนอาจไม่ได้รับัการสนับัสนุนจากพิรรคร่วมรัฐบัาล ANEL เพิราะ ANEL เองก็เป็นพิรรคฝ่่ายขวา แต่
180
กฎหมายผ่านเพิราะได้รับัเสียงสนับัสนุนจากพิรรคฝ่่ายค้านที�เป็นพิรรคแบับัซ้ายกลาง เช่น PASOK หรือ Potami
นับัว่าก็ได้ผลักดันนโยบัายที�ได้ให้ไว้กับักลุ่มที�ซิริซ่ากล่าวว่าจะเป็นตัวแทนของทุกกลุ่มประชาชน
แน่นอนว่าข้อผิดพิลาด หรือการเป็นรัฐบัาลฝ่่ายซ้ายอย่างที�ถูกตั�งความหวังไว้นั�น คงจะเป็นเรื�องยาก เพิราะ
แต่ละคนก็คาดหวังกับัความเปลี�ยนแปลงที�แตกต่างกัน ซ�ำข้ออ้างที�มักจะถูกใช้ก็คือ ยังไม่มีรัฐบัาลฝ่่ายซ้าย “ที�แท้จริง”
176 Costas Douzinas, Syriza in Power: Reflections of an Accidental Politician, 1st edition (London: Polity, 2017), 127.
177 Slavoj Zizek, The Courage of Hopelessness: Chronicles of a Year of Acting Dangerously (London: Allen
Lane, 2017), 49–52.
178 Katsambekis, ‘The Populist Radical Left in Greece’, 38.
179 Ibid., 39; Zizek, The Courage of Hopelessness, 46.
180 Katsambekis, ‘The Populist Radical Left in Greece’, 38.