Page 53 - kpiebook66004
P. 53
53
ดังนั�น การเดินทางเข้าเพิื�อไปหาเสียงกับักลุ่มต่าง ๆ เหล่านั�น จึงเป็นการขยายฐานเสียงให้กับัซิริซ่าที�สามารถ
รวบัรวมความต้องการของทุก ๆ กลุ่ม และมอบัอุปทาน (supply) ในทางนโยบัายให้กลุ่มเหล่านั�น จะยังได้กล่าวว่า
กลุ่มของประชาชนทุกกลุ่มนั�น เป็นประชาชนที�มีความต้องการเหมือนกัน และความต้องการเหล่านั�น มีค่าเท่ากัน
ไม่มีความต้องการของใครสำคัญไปกว่ากัน การเป็นประชาชนเหมือนกัน ทำให้ได้รับัความสำคัญที�เท่ากัน และ
พิรรคการเมืองอย่างซิริซ่า เป็นพิรรคการเมืองที�สามารถให้คำมั�นสัญญาว่าจะตอบัสนองให้กับัความต้องการต่าง ๆ
เหล่านั�นได้ โดยประชาชนมีคู่ตรงข้ามที�เป็นศูัตรูร่วมกันก็คือชนชั�นสูง ที�ถืออำนาจรัฐอยู่ ดังนั�น จึงต้องเปลี�ยน
อำนาจรัฐ สิ�งที�ซิริซ่าทำ จึงเป็นการสร้างห่วงโห่แห่งความเท่าเทียม หรือ chain of equivalence ที�จะเป็นการ
ทำให้ทุกความต้องการของประชาชนนั�นมีความหมาย และได้รับัการตอบัสนองอย่างเท่าเทียม
เช่นกันกับัการชุมนุมใหญ่ ‘square movement’ ในปี 2011 ซิริซ่าก็ได้ใช้ยุทธิ์ศูาสตร์เดียวกัน เพิื�อเป็นการ
ขยายเป้าหมายไปสู่การสร้างแนวหน้าทางการเมืองในระดับัสถาบัันทางการเมือง ซึ�งเป็นการเข้าไปมีส่วนร่วมกับั
การเคลื�อนไหวในแนวราบั โดยมีสมาชิกพิรรคเจ้าร่วมการเคลื�อนไหวด้วย ทำให้ผู้เข้าร่วมการเคลื�อนไหวรู้สึกว่า
เป็นพิรรคนั�นมีความเกี�ยวข้องและเป็นพิวกเดียวกัน นี�จึงเป็นการก้าวจาก “การแสดงจุดยืน” ของพิรรค ไปสู่
165
“การเป็นตัวแทน” ของประชาชนในการเมืองระบับัรัฐสภา ซิริซ่ามองว่าการชุมนุม ‘square movement’ นั�น
เป็นการชุมนุมที�เกิดขึ�นด้วยตัวเอง ที�ประชาชนที�หลากหลายออกมาเป็นตัวนำในการเรียกร้องเอง และยังจะเริ�ม
เป็นกลไกที�จะก่อตัวให้เกิดการเมืองในแบับัใหม่ ที�แตกต่างไปจากยุคกลาง ๆ แบับัที� PASOK/ND สลับักันขึ�นมา
มีอำนาจแต่ไม่มีอะไรเปลี�ยนแปลง ซิริซ่ายังเชื�อว่าการชุมนุมนี�จะนำไปสู่การมีเสียงส่วนใหญ่ครั�งใหม่ ที�เป็น
เสียงส่วนใหญ่ที�มีความเป็นการเมือง ที�จะสร้างแรงผลักดันทางการเมืองที�จะต่อสู้ ต่อต้าน และโค่นล้มระบับั
การเมืองแบับัเก่าลง 166
เหตุการณี์ชุมนุม ‘square movement’ จึงเป็นเหตุการณี์ที�เป็นจุดเปลี�ยนที�ทำให้เกิดเงื�อนไขของการแบั่ง
คู่ตรงข้ามของการเมืองกรีก โดยแบั่งพิวกของผู้ที�ต่อต้านนโยบัายรัดเข็มขัดที�มาในรูปแบับัของข้อตกลงจากสหภาพิยุโรป
(anti-memorandum) และผู้ที�สนับัสนุนข้อตกลงดังกล่าว (pro-memorandum) ซึ�งเป็นการฉายภาพิให้เห็นชัดถึง
การแบั่งขั�วทาง ซ้ายและขวา พิอสมควร ในแง่ของการต่อต้านแนวทางและอุดมการณี์แบับัเสรีนิยมใหม่ ทั�งใน
ระดับัโลกและระดับัชาติ ซิริซ่าจึงทำตัวเป็นกระบัอกเสียงของผู้คนเหล่านี� ที�ต่อต้านนโยบัายและข้อตกลงดังกล่าว
ทำให้ซิริซ่าสามารถเป็นพิรรคที�ใช้ยุทธิ์ศูาสตร์แบับัประชานิยมฝ่่ายซ้ายได้ไม่ยาก อีกทั�งยังใช้แรงกระแทกในการชุมนุมนี�ใน
167
การขึ�นเป็นพิรรคที�มาแรงและสามารถก้าวเป็นพิรรคที�เป็นคู่แข็งสำคัญในการเลือกตั�งที�กำลังจะถึงในปี 2012 ได้
เนื�องจากเป็นพิรรคเดียวที�สามารถสื�อสารกับัการชุมนุมได้อย่างชัดเจน และสามารถใช้กระแสของการชุมนุมในการ
เพิิ�มความนิยมกับัพิรรคได้มากที�สุด ซึ�งต่างกับัพิรรค ND ที�อยู่ตรงกันข้ามในแง่ของนโยบัาย หรือ PASOK, LAOS
168
หรือแม้แต่พิรรคคอมมิวนิสต์อย่าง KKE เอง ก็ยังไม่สามารถเชื�อมโยงกับัการชุมนุมได้อย่างแนบัชิดเหมือนกับัซิริซ่า
ซิริซ่าจึงสามารถได้รับัคะแนนนิยมพิุ่งสูงขึ�นจากการเลือกตั�งปี 2009 ในการเลือกตั�งปี 2012 169
165 Ibid., 30–31.
166 Ibid., 31.
167 Daniele Albertazzi and Davide Vampa, eds., Populism and New Patterns of Political Competition in Western
Europe, 1st edition (Abingdon, Oxon ; New York, NY: Routledge, 2021), 231.
168 Katsambekis, ‘The Populist Radical Left in Greece’, 32.
169 Albertazzi and Vampa, Populism and New Patterns of Political Competition in Western Europe, 232.