Page 84 - kpiebook65066
P. 84

17






                       เรื่องเวลาในการพัฒนาโครงการเพื่อใหสอดคลองกับระยะเวลาในการดําเนินโครงการของสถาบัน
                       พระปกเกลา
                                                4) ขั้นตอนการขับเคลื่อน การติดตามความกาวหนา และการ
                       ประเมินผล

                                                       (4.1) สงเสริม ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นขับเคลื่อนผาน
                       เครือขายตาง ๆ เชน สถาบันการศึกษาในพื้นที่โดยเฉพาะในประเด็นที่ตองอาศัยความเปนวิชาการ
                                                       (4.2) สงเสริมใหผูปกครอง และชุมชนเขามามีสวนรวมในการ
                       ขับเคลื่อน การดําเนินการขับเคลื่อน ควรสงเสริมใหผูปกครอง และชุมชนเขามามีสวนรวมในการ

                       ขับเคลื่อน หรืออาจเปนกลุมเปาหมายกลุมใดกลุมหนึ่งในกิจกรรมการขับเคลื่อน ในฐานะที่เปน
                       หุนสวน (Partnership) ในการจัดการศึกษาใหกับเด็ก และเยาวชนในพื้นที่ เนนการกําหนดการเรียนรู
                       และหลักสูตรรวมกันระหวางโรงเรียน ผูปกครอง และชุมชนที่ตองชวยเหลือกัน ตองกําหนดเปา
                       รวมกันและดําเนินการ ดวยที่ผานมาชุมชน และผูปกครองเขามามีสวนรวมคอนขางนอย ในขณะที่ทั้ง

                       สองกลุมมีความสําคัญตอการจัดการศึกษาสําหรับเด็ก และเยาวชน การทํางานรวมกัน การกําหนด
                       เปาหมายรวมกัน การคิดวิธีรวมกันเปนหัวใจสําคัญของการทําใหเกิดความเปนเจาของในการจัด
                       การศึกษาใหกับเด็ก และเยาวชน

                                                       (4.3) เนนการประเมินความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในการดําเนิน
                       โครงการ การแพรระบาดของโควิด-19 ไดสงผลใหบางโครงการตองชะงัก บางโครงการตองชะลอการ
                       ดําเนินการออกไป อยางไรก็ตามปรากฏการณดังกลาวแสดงใหเห็นถึงความสําคัญของการประเมิน
                       ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในการดําเนินโครงการ ซึ่งควรเปนหัวขอหนึ่งในการใหความรูแกองคกรปกครอง
                       สวนทองถิ่น

                                                       (4.4) กําหนดใหมีการประเมินผลโครงการระยะสั้น และ
                       ระยะยาว ดวยการแกไขปญหาความเหลื่อมล้ําตองอาศัยระยะเวลา อีกทั้งการดําเนินโครงการเพียง
                       โครงการเดียวอาจไมสามารถแกไขปญหาไดทั้งหมด การประเมินผลการดําเนินโครงการโดยพิจารณา

                       ที่เปาหมายหมายเรื่องการแกไขปญหาความเหลื่อมล้ําจึงเปนไปไดยาก ดังนั้นอาจแบงการประเมินผล
                       โครงการออกเปน 2 สวน ไดแก การประเมินผลการดําเนินโครงการระยะสั้น และการประเมินผล
                       โครงการระยะยาว
                              3) ระยะขยายผล ดวยระยะเวลาในการดําเนินโครงการแกไขปญหาความเหลื่อมล้ําทางการ

                       ศึกษาในพื้นที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นมีระยะเวลาในการดําเนินโครงการยาวนาน อาทิ สิ้นป
                       การศึกษา 2564 สิ้นปงบประมาณ 2565 ประกอบกับปญหาการแพรระบาดของโควิด-19 ทําให
                       บางโครงการตองชะลอการดําเนินโครงการ จึงทําใหการขับเคลื่อนองคกรปกครองสวนทองถิ่นในระยะ
                       ขยายผล ทําไดเพียงใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นรายงานความกาวหนาในการดําเนินงานโดยมี

                       ผูทรงคุณวุฒิใหขอเสนอแนะในการดําเนินโครงการ ดังนั้นในระยะขยายผล ผูวิจัยมีขอเสนอแนะที่
                       เกี่ยวของกับการถอดบทเรียน/แลกเปลี่ยนเรียนรู การตอยอดขยายผล และการขยายเครือขายดัง
                       รายละเอียดตอไปนี้
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89