Page 85 - kpiebook65066
P. 85

18






                                     (3.1) การขยายผล หรือตอยอดจากองคกรปกครองสวนทองถิ่นกลุมเดิม
                                            (3.1.1) ติดตามและประเมินผลสําเร็จของโครงการในระยะที่ 1 ดวย
                       โครงการเสริมสรางความเสมอภาคทางการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นสวนใหญมีระยะเวลา
                       ในการดําเนินโครงการยาวนานกวาระยะเวลาในการดําเนินโครงการวิจัย ประกอบกับบางโครงการ

                       ตองชะลอการดําเนินโครงการอันเนื่องมาจากสถานการณการแพรระบาดของโควิด-19 ดังนั้นสถาบัน
                       พระปกเกลาจึงควรจัดใหมีการติดตามการดําเนินโครงการอยางตอเนื่องเพื่อติดตามความกาวหนาของ
                       โครงการ รวมถึงเพื่อประเมินความสําเร็จของโครงการ เพื่อแสดงใหเห็นวา กระบวนการขับเคลื่อนนั้น
                       ไดปรากฏผลในเชิงประจักษหรือไมอยางไร

                                            (3.1.2) ถอดบทเรียนประสบการณการขับเคลื่อนขององคกรปกครองสวน
                       ทองถิ่น นอกจากจะจัดใหการติดตาม และประเมินผลสําเร็จของโครงการเสริมสรางความเสมอภาค
                       ทางการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใน 11 แหง แลว ยังควรมีการถอดบทเรียน
                       ประสบการณการขับเคลื่อนขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเพื่อศึกษาปจจัยที่สงผลใหโครงการสําเร็จ

                       หรือไมสําเร็จ เพื่อใชเปนแนวทางสําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่น ๆ ในการดําเนินโครงการ
                       ขับเคลื่อนเพื่อสรางความเสมอภาคใหแกเด็ก และเยาวชนในพื้นที่ โดยอาจจัดเปนเวทีแลกเปลี่ยน
                       เรียนรู

                                            (3.1.3) สนับสนุนองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหตอยอดการดําเนิน
                       โครงการ ดวยโครงการเสริมสรางความเสมอภาคทางการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นดําเนิน
                       โครงการในระยะแรกนั้น เปนโครงการนํารอง ดังนั้นสถาบันพระปกเกลาอาจสนับสนุนองคกรปกครอง
                       สวนทองถิ่นใหตอยอดการดําเนินโครงการ ทั้งตอยอดในแงของกลุมเปาหมาย กิจกรรม และเครือขาย
                       โดยใชแนวทางการขับเคลื่อนที่ไดมีการปรับปรุงแลวเปนแนวทางในการขับเคลื่อน

                                     (3.2) การขยายผล หรือตอยอดจากกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่น ๆ
                                            (3.2.1) ควรมีการดําเนินโครงการวิจัยขับเคลื่อนองคกรปกครองสวน
                       ทองถิ่นใหเปนกลไกลดความเหลื่อมล้ําในพื้นที่ในระยะที่ 2 ดวยการดําเนินโครงการเชิงรุก โดย

                       สงเสริมใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นในพื้นที่ที่มีปญหาความเหลื่อมล้ําใหดําเนินโครงการดังที่ได
                       กลาวไวกอนหนานี้ หรืออาจกําหนดประเด็นในการขับเคลื่อนที่เฉพาะเจาะจงไปที่กลุมเด็ก และ
                       เยาวชนกลุมใดกลุมหนึ่งที่มีปญหามาก อาทิ กลุมเด็กยากจนซึ่งเปนปญหาที่สําคัญที่สุดที่ทําใหเกิด
                       ปญหาเด็กดอยโอกาส หรือสถาบันพระปกเกลาอาจจัดโครงการที่เนนไปในเรื่องของการจัดทํา

                       ฐานขอมูลความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาในพื้นที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ดวยองคกรปกครอง
                       สวนทองถิ่นสวนใหญยังขาดฐานขอมูลความเหลื่อมล้ําในพื้นที่ของตนเองโดยตรง อีกทั้งแตละพื้นที่มี
                       สภาพความเหลื่อมล้ําแตกตางกันมาก ทั้งพื้นที่เมือง พื้นที่ชนบท พื้นที่ชายแดน ซึ่งฐานขอมูลความ
                       เสมอภาคทางการศึกษาที่มีอยู ไมสามารถสนับสนุนขอมูลไดครบถวน และทันสมัย ทั้งนี้ฐานขอมูล

                       ความเหลื่อมล้ําเปนเรื่องสําคัญ โดยเฉพาะฐานขอมูลกลุมเด็กที่ขาดโอกาสในการเขาถึงการศึกษา ดวย
                       เพราะการมีฐานขอมูลจะชวยใหสามารถตอบโจทยการแกปญหาความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาในพื้นที่
                       ได โดยองคกรปกครองสวนทองถิ่นอาจเริ่มจากพื้นที่หนึ่ง แลวขยายผลไปยังพื้นที่อื่น ๆ อาทิ องคการ
                       บริหารสวนจังหวัดอาจพิจารณาจัดทําฐานขอมูลการศึกษาตามพื้นที่ระดับจังหวัด โดยเริ่มจาก
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90