Page 86 - kpiebook65066
P. 86

19






                       ฐานขอมูลพื้นที่ในอําเภอเดียวกอน แลวจึงขยายผลไปอําเภออื่น ๆ พัฒนาเปนฐานขอมูลเปนกลุม
                       อําเภอ แลวคอยขยายเปนฐานขอมูลระดับจังหวัด เปนตน
                                            (3.2.2) การขับเคลื่อนใหองคกรปกครองสวนถิ่นสรางการศึกษาเพื่อความ
                       เสมอภาค เนื่องจากเปาหมายในการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ก็เพื่อสรางความ

                       เสมอภาคทางการศึกษา (Education for Equalization) โดยเปนการจัดการศึกษาเพื่อทําใหทุกคนมี
                       การศึกษาที่ใกลเคียงกัน ในขณะที่ในปจจุบันการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบขององคกรปกครองสวน
                       ทองถิ่นมีความแตกตางกัน และสวนหนึ่งของความแตกตางดังกลาวเกิดจากองคกรปกครองสวน
                       ทองถิ่น ดังนั้นบทบาทสําคัญขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ไดแก การสรางการศึกษาเพื่อความเสมอ

                       ภาคหรือการทําใหคุณภาพใกลเคียงกัน
                                            (3.2.3) การขับเคลื่อนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดการศึกษาใน
                       ลักษณะ “Education for All” และ “All for Education. Education for All” เพื่อใหเกิดความ
                       เสมอภาคทางการศึกษา โดยควรสนับสนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดการศึกษาแบบ

                       Education for All ไดแก การจัดการศึกษาใหครบทุกชวงชั้น เปนการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับ
                       ประชาชน การจัดการศึกษาใหทุกกลุมคน ตั้งแตคนที่ยังอยูในวัยเรียนในระบบ นอกวัยเรียน วัย
                       แรงงาน การเสริมอัธยาศัยทั้งหมด ใหทุกคนสามารถเขาถึงการเรียนรูได และการจัดการศึกษาแบบ

                       All for Education ไดแก การดําเนินการขององคกรปกครองสวนทองถิ่นตองทําใหเกิดกระบวนการ
                       เรียนรู ดวยการกําหนดเปาหมายระยะยาวรวมกัน เปนการมุงเนนการมอบการศึกษาไปสูการคํานึงถึง
                       ความตองการของผูเรียนใหมากขึ้น ทําใหความหมายของการศึกษา หมายรวมถึง "All" หรือ ทุกฝาย
                       อยางแทจริง
                                            (3.2.4) ปฏิรูปกระบวนการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่ และกลุมเปาหมาย จาก

                       ผลการศึกษาสะทอนใหเห็นปญหาสําคัญของการจัดการศึกษาในพื้นที่กลาวคือ การจัดการศึกษามีการ
                       แยกสวนตามหนวยงานตนสังกัด อาทิ ผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นสวนใหญใหความสําคัญกับ
                       การศึกษาเฉพาะสถานศึกษาในสังกัดขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเอง เชน ศูนยพัฒนาเด็กเล็กของ

                       องคกรปกครองสวนทองถิ่น โรงเรียนของเทศบาล โรงเรียนขององคการบริหารสวนจังหวัด ขณะที่
                       ผูบริหารสถานศึกษาในสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจะใหความสําคัญกับสถานศึกษา
                       ของตนเอง และสถานศึกษาในสังกัด สถานศึกษาของเอกชนโดยเฉพาะในสามจังหวัดชายแดนภาคใต
                       มีการดําเนินการที่แยกสวนออกไป ดังนั้นการปฏิรูปการจัดการศึกษาควรพิจารณาปฏิรูปกระบวนการ

                       ศึกษาโดยอิงกับพื้นที่ และกลุมเปาหมายเปนหลัก โดยองคกรปกครองสวนทองถิ่นอาจเปนผูนําในการ
                       ประสานเชื่อมโยงสถานศึกษาทั้งหมดเขาดวยกัน ดังจะปรากฏใหเห็นจากโครงการบางโครงการที่
                       องคกรปกครองสวนทองถิ่นนํารองเสนอ ที่ไมไดพิจารณาแกปญหาความเหลื่อมล้ําเฉพาะใน
                       สถานศึกษาของตนเองเทานั้น แตยังรวมไปถึงสถานศึกษาของ สพฐ. และสถานศึกษาของเอกชนที่

                       ตั้งอยูในพื้นที่ของตน โดยใหพิจารณาวา เด็ก และเยาวชนทุกคนในพื้นที่เปนกลุมเปาหมายที่องคกร
                       ปกครองสวนทองถิ่นควรเขาไปดูแลเพื่อทําใหเกิดความเสนมอภาคทางการศึกษา
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91