Page 88 - kpiebook65066
P. 88

21






                       (6) เทศบาลเมืองบางกะดี (7) เทศบาลเมืองลําพูน (8) เทศบาลเมืองนราธิวาส (9) เทศบาลนครยะลา
                       (10) เทศบาลนครสกลนคร และ (11) องคการบริหารสวนจังหวัดปตตานี
                                     2) ในวัตถุประสงคที่ 2 เพื่อเสริมสรางและขับเคลื่อนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น
                       แหงใหม ใหดําเนินโครงการเสริมสรางความเสมอภาคทางการศึกษาในพื้นที่นั้น เปนการรับสมัคร

                       องคกรปกครองสวนทองถิ่นแหงใหมที่มีความพรอม และสมัครใจเขารวมโครงการ โดยกําหนดไวไมต่ํา
                       กวา 10 แหง ซึ่งจากกระบวนการรับสมัครไดองคกรปกครองสวนทองถิ่นจํานวนทั้งสิ้น 13 แหง
                                     นอกจากนี้การศึกษาครั้งนี้ จะแบงเด็ก และเยาวชนตามกรอบของรัฐธรรมนูญ พ.ศ.
                       2560 มาตรา 54 ที่กําหนดใหรัฐตองดําเนินการใหเด็กทุกคนไดรับการศึกษาเปนเวลา 12 ป ตั้งแต

                       กอนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอยางมีคุณภาพโดยไมเก็บคาใชจาย รวมถึงนโยบายของรัฐบาล
                       ไดประกาศนโยบายเรียนฟรี 15 ปอยางมีคุณภาพตั้งแตระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึง
                       กลาวไดวาเด็กทุกคนควรไดรับการศึกษาตั้งแตระดับอนุบาลจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ
                       ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ดังนั้นเพื่อใหสอดคลองกับการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวน

                       ทองถิ่น การวิจัยครั้งนี้จึงแบงเด็ก และเยาวชนออกเปน 4 กลุม ไดแก (1) เด็กปฐมวัย (อายุ 2 – 5 ป)
                       (2) เด็ก อายุ 6 – 15 ป (3) เยาวชน อายุ 16 – 18 ป (4) เด็กพิเศษ ดังตารางตอไปนี้

                       ตารางที่ 1.1 คุณลักษณะของเด็ก และเยาวชนในแตละกลุม

                             กลุมเด็ก และเยาวชน                          คุณลักษณะ
                        (1) เด็กปฐมวัย อายุ 2 – 5 ป   (1.1) เด็กปฐมวัย อายุ 2 – 5 ป ที่ไมไดเขารับการศึกษา

                                                      (1.2) เด็กปฐมวัย อายุ 2 – 5 ป ที่เขารับการศึกษาในระดับ
                                                      เตรียมอนุบาล และอนุบาลศึกษา แตขาดแคลนทุนทรัพย
                                                      หรือครอบครัวมีรายไดนอย
                        (2) เด็ก อายุ 6 – 15 ป       (2.1) เด็ก อายุ 6 – 15 ป นอกระบบการศึกษา

                                                      (2.2) เด็ก อายุ 6 – 15 ป ในระบบการศึกษาที่เขารับ
                                                      การศึกษาภาคบังคับในระดับประถมศึกษาตอนตน
                                                      ประถมศึกษาตอนปลาย หรือมัธยมศึกษาตนตน แตขาด
                                                      แคลนทุนทรัพย หรือครอบครัวมีรายไดนอย

                        (3) เยาวชน อายุ 16 – 18 ป    (3.1) เยาวชน อายุ 16 – 18 ป นอกระบบการศึกษา
                                                      (3.2) เยาวชน อายุ 16 – 18 ป ในระบบการศึกษาที่เขารับ
                                                      การศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ
                                                      ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

                        (4) เด็กพิเศษ                 เด็กที่จําเปนตองไดรับการดูแลชวยเหลือเปนพิเศษเพิ่มเติม
                                                      จากวิธีการตามปกติ ทั้งในดานการใชชีวิตประจําวัน การ
                                                      เรียนรู และการเขาสังคม อาทิ เด็กที่บกพรองทางการเห็น

                                                      เด็กที่บกพรองทางการไดยิน เด็กที่บกพรองทางสติปญญา
                                                      เด็กที่บกพรองทางรางกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93