Page 93 - kpiebook65066
P. 93
26
ระยะเริ่มตน ระยะขับเคลื่อน ระยะขยายผล
1. คนหาอาสาสมัคร 1. เสาะหาขอเท็จจริง 1. ถอดบทเรียน/แลกเปลี่ยน
2. ทําความเขาใจและเตรียม 2. ปกหมุด และชี้เปา เรียนรู
ความพรอม 3. พัฒนาและออกแบบโครงการ 2. ตอยอดขยายผล
4. ขับเคลื่อนและติดตามความกาวหนา 3. ขยายเครือขาย
เปนระยะ
ผูทรงคุณวุฒิ ผูทรงคุณวุฒิ ผูทรงคุณวุฒิ
ภาพที่ 1.2 กระบวนการขับเคลื่อนองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหเสริมสรางความเสมอภาคทาง
การศึกษา
(3.1) ระยะเริ่มตน
(3.1.1) คนหาอาสาสมัคร ตามกระบวนการในการคัดเลือกองคกร
ปกครองสวนทองถิ่นแหงใหมดังที่กลาวไปกอนหนานี้ โดยยังคงเนนความสมัครใจขององคกรปกครอง
สวนทองถิ่น แตมุงไปยังพื้นที่ที่มีปญหาเปนหลัก
(3.1.2) ผูวิจัยจัดประชุมออนไลนเพื่อชี้แจงรายละเอียดตาง ๆ
ของโครงการ
(3.1.3) สถาบันพระปกเกลาจัดสัมมนาครั้งที่ 1 เพื่อใหความรู
พื้นฐานเกี่ยวกับความเหลื่อมล้ําทางดานการศึกษาแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เขารวมโครงการ
(3.2) ระยะขับเคลื่อน
(3.2.1) ขั้นเสาะหาขอเท็จจริง เปนขั้นตอนที่มีหลักการดังนี้ (1)
เปนการสํารวจในพื้นที่วาในพื้นที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นมีความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาใด
ทั้งในดานโอกาสในการเขาถึงการศึกษา และคุณภาพทางการศึกษา (2) ทําการสํารวจในพื้นที่วา เด็ก
และเยาวชนกลุมใดจากกลุมเปาหมายทั้ง 4 กลุมหลัก 7 กลุมยอย ประสบกับความเหลื่อมล้ําทางการ
ศึกษาหรือไม อยางไร และ (3) ทําความเขาใจปญหาใหลึกซึ้งมากที่สุด โดยวิเคราะหสาเหตุของปญหา
อยางรอบดานในหลากหลายมิติ เพื่อนําไปสูการคนหาทางออกที่ตอบโจทยมากที่สุด โดยอาศัย
ฐานขอมูลเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (ISEE) ฐานขอมูลนักเรียน หองเรียน และครู จําแนกตาม
สังกัด ฐานขอมูลนักเรียนในระบบ และนอกระบบ ฐานขอมูลคุณภาพการศึกษา ไดแก ฐานขอมูลผล
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานรายโรงเรียน (O-NET) ฐานขอมูลผลการทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติดานอาชีวศึกษารายโรงเรียน (V-NET) และฐานขอมูลผลการทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติดานการศึกษานอกระบบรายโรงเรียน (N-NET) ระบบคลังขอมูลกลางดาน