Page 94 - kpiebook65066
P. 94

27






                       การศึกษา (MOC-Edu WH) ไดแก ฐานขอมูลเด็กปฐมวัย แผนที่สถานที่ศึกษา และขอมูลสถานศึกษา
                       โดยมีขั้นตอนการดําเนินงานในทางปฏิบัติดังนี้
                                                           1) ผูวิจัยศึกษาบริบทขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
                       และสภาพปญหาความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาในเบื้องตนจากฐานขอมูลตาง ๆ โดยเฉพาะจากระบบ

                       สารสนเทศเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา
                                                           2) ผูวิจัยลงพื้นที่ครั้งที่ 1 เพื่อจัดกิจกรรมสัมมนาเชิง
                       ปฏิบัติการสํารวจสภาพปญหาความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาจากแหลงขอมูลขางตน และจากการ
                       ระดมความคิดเห็นของภาคสวนตาง ๆ

                                                           3) กําหนดประเด็นที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นตองเก็บ
                       ขอมูลเพิ่มเติม
                                                           4) องคกรปกครองสวนทองถิ่นกําหนดแผน และเก็บ
                       ขอมูลเชิงลึกเพิ่มเติม

                                                   (3.2.2) ปกหมุด ชี้เปา เปนขั้นตอนที่มีหลักการดังนี้ (1) คัดเลือก
                       และกําหนดประเด็นปญหาในการทํางานเพียงประเด็นเดียว โดยคํานึงถึงมิติความเสมอภาคทาง
                       การศึกษาตามกรอบการศึกษาวิจัย (2) กําหนดกลุมเปาหมายในการทํางาน โดยคํานึงถึง

                       กลุมเปาหมาย 4 กลุมตามกรอบการศึกษาวิจัย (3) ตกผลึกในประเด็นปญหา โดยวิเคราะหสภาพ
                       ปญหา ผลเสีย และผลกระทบที่เกิดขึ้นในพื้นที่ วิเคราะหหาสาเหตุของปญหาใหไดอยางชัดเจน เปน
                       ระบบ รอบดาน หลากหลายมิติ และมองเห็นสาเหตุที่มีความเชื่อมโยงกัน วิเคราะหผูที่มีสวนเกี่ยวของ
                       (4) ระดมความเห็นเพื่อคนหาวิธีการแกไขปญหาที่สอดคลองกับสาเหตุของปญหา นําเสนอทางเลือก
                       ใหไดมากที่สุด ทั้งในกรอบ และนอกกรอบ โดยคิดใหรอบดานที่สุด รวมถึงคํานึงถึงขอดีขอเสียของแต

                       ละวิธี และ (5) เปรียบเทียบทางเลือก และตัดสินใจคัดเลือกวิธีการแกไขปญหาเพื่อนําไปสูการพัฒนา
                       โครงการ โดยอาจผสมผสานหลากหลายทางเลือกใหออกมาเปนทางเลือกสุดทายที่ชัดเจน โดยอาศัย
                       เครื่องมือที่สามารถใชในการตัดสินใจคัดเลือกวิธีการแกไขปญหา คือ 5C คือ ถูกตองตามตองการ

                       (Correct) กระจางแจมชัด (Clear) เปนรูปธรรม (Concrete) สมบูรณ (Complete) และเปนปจจุบัน
                       (Current) และแผนภาพตนไมเพื่อการตัดสินใจ (Decision tree) โดยมีขั้นตอนในทางปฏิบัติดังนี้
                                                           1) ผูวิจัยลงพื้นที่ครั้งที่ 2 เพื่อสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อ
                       วิเคราะหขอมูลความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาทั้งหมด ทั้ง (1) วิเคราะหสภาพปญหา ผลเสีย และ

                       ผลกระทบที่เกิดขึ้นในพื้นที่ (2) วิเคราะหหาสาเหตุของปญหาใหไดอยางชัดเจน เปนระบบ รอบดาน
                       หลากหลายมิติ และมองเห็นสาเหตุที่มีความเชื่อมโยงกัน และ (3) วิเคราะหผูที่มีสวนเกี่ยวของ
                                                           2) องคกรปกครองสวนทองถิ่นคัดเลือกปญหา และหา
                       วิธีการแกไขปญหา โดยจะเปนการคนหาวิธีการแกไขปญหาที่สอดคลองกับสาเหตุของปญหา นําเสนอ

                       ทางเลือกอยางรอบดาน ทั้งในกรอบ และนอกกรอบ รวมถึงคํานึงถึงขอดีขอเสียของแตละวิธี
                       เปรียบเทียบทางเลือก และตัดสินใจคัดเลือกวิธีการแกไขปญหาเพื่อนําไปสูการพัฒนาโครงการ โดย
                       อาจผสมผสานหลากหลายทางเลือกใหออกมาเปนทางเลือกสุดทายที่ชัดเจน
                                                   (3.2.3) พัฒนาและออกแบบโครงการ เปนขั้นตอนที่มีหลักการ

                       ดังนี้ (1) พัฒนา และออกแบบโครงการตามแนวทางที่ไดเลือกแลว โดยโครงการควรมีความชัดเจนใน
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99