Page 96 - kpiebook65066
P. 96
29
1.7 นิยามศัพท
การติดตาม หมายถึง การรวบรวมขอมูลปจจัยนําเขา การดําเนินงานกิจกรรมตามแผนที่
กําหนดไวในโครงการ และผลการดําเนินงาน ตามเปาหมายที่กําหนดไวในแผนขององคกรปกครอง
สวนทองถิ่นใหเปนกลไกลดความเหลื่อมล้ําทางดานการศึกษา ระยะที่ 1 เพื่อนํามาใชเปนแนวทางใน
การปรับปรุงการขับเคลื่อนองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหสามารถดําเนินโครงการเสริมสรางความ
เสมอภาคทางการศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
การถอดบทเรียน หมายถึง การเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อประเมินปจจัยความสําเร็จของ
โครงการที่ไดรับการคัดเลือกใหเปนตนแบบจากการดําเนินโครงการในระยะที่ 1 โดยมีวัตถุประสงค
เพื่อคนหาคุณคาที่เกิดขึ้นจากการดําเนินโครงการ
ความเสมอภาคทางการศึกษา หมายถึง ความเสมอภาคดานโอกาสในการเขาถึงการศึกษา
และความเสมอภาคดานคุณภาพทางการศึกษาของเด็ก และเยาวชน ๔ กลุม ไดแก เด็กปฐมวัย (อายุ
2 – 5 ป) เด็ก (อายุ 6 – 15 ป) เยาวชน (อายุ 16 – 18 ป) และเด็กพิเศษ ที่อยูในพื้นที่องคกร
ปกครองสวนทองถิ่น
คุณภาพทางการศึกษา หมายถึง การพัฒนาผูเรียน การพัฒนาหนังสือ และอุปกรณ การผลิต
และพัฒนาครู และการสรางปฏิสัมพันธระหวางครู และนักเรียน ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
เด็ก และเยาวชน หมายถึง เด็กปฐมวัย (อายุ 2 – 5 ป) เด็ก (อายุ 6 – 15 ป) เยาวชน (อายุ
16 – 18 ป) และเด็กพิเศษที่อยูในพื้นที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
1.8 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1.8.1 ทําใหทราบความกาวหนาในการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เขารวม
โครงการวิจัยขับเคลื่อนองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหเปนกลไกลดความเหลื่อมล้ําทางดานการศึกษา
ระยะที่ 1 เพื่อผลักดันใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นสามารถแกไขปญหาความเหลื่อมล้ําทางการ
ศึกษาในพื้นที่ของตนได
1.8.2 ไดองคกรปกครองสวนทองถิ่นตนแบบ เพื่อใชเปนตัวอยางความสําเร็จในการ
เสริมสรางความเสมอภาคทางการศึกษาในพื้นที่ของทองถิ่น สําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่น ๆ
1.8.3 ทําใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เขารวมโครงการไดดําเนินงานเพื่อเสริมสรางความ
เสมอภาคทางการศึกษาในพื้นที่ของตน เพื่อลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา ขณะเดียวกันก็ไดเรียนรู
การดําเนินโครงการ และไดเครือขายความรวมมือระหวางทองถิ่นที่เขารวมโครงการ และทองถิ่นกับ
สถาบันพระปกเกลา