Page 101 - kpiebook65066
P. 101

34






                       ตองการ เมื่อจบออกมาแลวสถานประกอบการจะรับเขาทํางาน เปนการเพิ่มโอกาสใหกับเยาวชนใน
                       ตําบลบางกะดีทั้งดานการศึกษา และการทํางาน
                                     โดยโครงการดังกลาวมีวัตถุประสงค 2 ประการ ไดแก (1) เพื่อใหเยาวชนในตําบล
                       บางกะดีมีโอกาสไดรับทุนการศึกษา และมีโอกาสศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น ใชระยะเวลาในการศึกษา

                       ตอไมนานเกินไป จบออกมามีงานรองรับ และ (2) เพื่อใหเกิดความรวมมือของทุกภาคสวนในการ
                       รวมกันทํา MOU ประกอบดวย สถานประกอบการ สถานศึกษา และเทศบาลเมืองบางกะดี โดยมี
                       กลุมเปาหมายหลัก ไดแก สถานประกอบการในตําบลบางกะดี วิทยาเขตทางการศึกษา
                       (วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี) และกลุมเด็กและเยาวชน อายุ 16 – 18 ป ในตําบลบางกะดีที่ศึกษาตอ

                       ในระดับอาชีวศึกษา (ปวช./ปวส.) ระยะเวลาดําเนินโครงการเริ่มตั้งแตเดือนมิถุนายน 2564 ถึง
                       เมษายน 2565
                                     2) ผลการติดตามโครงการ
                                            (2.1) ในชวงระยะแรก เทศบาลไดดําเนินการประสานงานติดตอกับ

                       พันธมิตรรวมโครงการ ไดแก สวนอุตสาหกรรมบางกะดี และไดรวมประชุมโดยใชพื้นที่ของสวน
                       อุตสาหกรรมบางกะดีเปนแมขายในการประชุมทางออนไลน โดยสาระสําคัญของการประชุม ไดแก
                       การประสานขอมูลทักษะแรงงานที่สถานประกอบการตองการ เพื่อเปนขอมูลในการพัฒนาหลักสูตร

                       ของวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี และจัดทําแผนงาน/กิจกรรมของโครงการ นอกจากนี้เทศบาลยังไดเขา
                       พบผูอํานวยการวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี ทําใหเทศบาลไดทราบวา สาขาวิชาที่วิทยาลัยเทคนิค
                       ปทุมธานีเปดสอนมี 4 ประเภท ไดแก ชางอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอุตสาหกรรม
                       ทองเที่ยว ซึ่งเทศบาลเมืองบางกะดีไดรวมปรึกษาหารือระหวางผูบริหาร และบุคลากรที่เกี่ยวของ จน
                       ไดขอสรุปวาใหสงรายละเอียดสาขาวิชาที่วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานีเปดสอนใหกับทางสวน

                       อุตสาหกรรมบางกะดีไดพิจารณา และเมื่อสวนอุตสาหกรรมไดพิจารณาแลว และไดแจงกลับมาวา
                       สาขาวิชาดังกลาวครอบคลุม และตรงตามความตองการของตลาดแรงงาน และไดกําหนดปฏิทินการ
                       ดําเนินงานรวมกัน นอกจากนี้ยังไดมีการประชุมระหวางเทศบาลเมืองบางกะดี สถานประกอบการใน

                       ตําบลบางกะดี และวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี ในการวางแนวทางรวมกันเพื่อใหโครงการดําเนินการ
                       ตอไปไดอยางยั่งยืน
                                            นอกจากนี้การดําเนินงานดังกลาวยิ่งทําใหเกิดการรวมมือกันแบบไตรภาคี
                       ระหวางเทศบาลเมืองบางกะดี ตัวแทนสถานประกอบการในเมืองบางกะดี และวิทยาลัยเทคนิค

                       ปทุมธานีในดานตาง ๆ คือ ดานการจัดหาทุน ดานหลักสูตรที่เปดทําการสอนในวิทยาลัยเทคนิค
                       ปทุมธานี ใหตรงตามความตองการของตลาดแรงงาน (สถานประกอบการ) ดานความรวมมือของ
                       สถานประกอบการในการรับนักศึกษาอาชีวศึกษาเขาฝกงาน หรือเขาทํางานตามดุลยพินิจของสถาน
                       ประกอบการ โดยกลุมงานนโยบาย และแผนงานจังหวัดปทุมธานี ดานการประชาสัมพันธเผยแพร

                       ขอมูลขาวสารของโครงการ โดยประชาสัมพันธจังหวัดปทุมธานี
                                            (2.2) มีการดําเนินการลงนามบันทึกขอตกลง (MOU) ตามโครงการ
                       อาชีวศึกษา กองทุน CSR สถานประกอบการในเมืองบางกะดี โดย นายเอกวิทย มีเพียร รองผูวา
                       ราชการจังหวัดปทุมธานีมาลงนามเปนสักขีพยาน นายกเทศมนตรีเมืองบางกะดี นายธวัชชัย อึ้งอัมพร

                       วิไล ลงนามหนวยงานเทศบาลเมืองบางกะดี ดร.ดํารงค สุดวิลัย ผูอํานวยการวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106