Page 97 - kpiebook65066
P. 97

30






                                                            บทที่ 2
                         ผลการติดตาม และการถอดบทเรียนองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เขารวม

                               โครงการวิจัยขับเคลื่อนองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหเปนกลไก

                                       ลดความเหลื่อมล้ําทางดานการศึกษา ระยะที่ 1



                              จากกระบวนการขับเคลื่อนองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหเสริมสรางความเสมอภาคทาง
                       การศึกษาระยะที่ 1 ซึ่งมีองคกรปกครองสวนทองถิ่นเขารวมโครงการ 11 แหง ไดโครงการเสริมสราง
                       ความเสมอภาคทางการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นจํานวน 12 โครงการ จากการติดตาม
                       การดําเนินโครงการดังกลาวในชวงปงบประมาณ 2565 และจากการถอดบทเรียนองคกรปกครอง

                       สวนทองถิ่นที่ไดรับการคัดเลือกใหเปนตนแบบจํานวน 5 แหง ไดผลการดําเนินงานดังนี้

                       2.1 ผลการติดตามการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ไดรับการคัดเลือกใหเปน

                       ตนแบบการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เขารวมโครงการวิจัยขับเคลื่อนองคกร
                       ปกครองสวนทองถิ่นใหเปนกลไกลดความเหลื่อมล้ําทางดานการศึกษา ระยะที่ 1

                              จากการติดตามการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ไดรับการคัดเลือกใหเปน

                       ตนแบบการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เขารวมโครงการวิจัยขับเคลื่อนองคกร
                       ปกครองสวนทองถิ่นใหเปนกลไกลดความเหลื่อมล้ําทางดานการศึกษา ระยะที่ 1 จํานวน 12
                       โครงการ ไดผลการติดตามดังรายละเอียดตอไปนี้


                              2.1.1 โครงการกองทุนเพื่อสนับสนุน และชวยเหลือภาวะโภชนาการเพื่อลดความเหลื่อม
                       ล้ําทางการศึกษาของเด็กนักเรียนในเขตตําบลนาขอม ขององคการบริหารสวนตําบลนาขอม
                                     1) บริบทของโครงการ โครงการกองทุนเพื่อสนับสนุน และชวยเหลือภาวะ
                       โภชนาการเพื่อลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาของเด็กนักเรียนในเขตตําบลนาขอม เกิดจากมีเด็ก

                       นักเรียนโรงเรียนบานเขาใหญซึ่งเปนโรงเรียนขนาดเล็กประสบปญหาเรื่องเด็กนักเรียนมีภาวะ
                       โภชนาการต่ํา เมื่อเปรียบเทียบกับเด็กนักเรียนโรงเรียนอื่น ๆ เนื่องจากผูปกครองมีฐานะยากจนตอง
                       เรงรีบทํามาหากิน ไมมีเวลาเอาใจใสดานภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียน ประกอบกับเปนโรงเรียน
                       ขนาดเล็ก มีเด็กนักเรียนนอยทําใหไดรับการจัดสรรงบประมาณจากองคกรปกครองสวนทองถิ่นถัว

                       เฉลี่ยรวมทั้งโรงเรียนไมเพียงพอในการประกอบอาหารกลางวัน ดังนั้นองคการบริหารสวนตําบล
                       นาขอมจึงไดดําเนินโครงการจัดตั้งกองทุนเพื่อสนับสนุน และชวยเหลือภาวะโภชนาการเพื่อลดความ
                       เหลื่อมล้ําทางการศึกษาของเด็กนักเรียนในเขตตําบลนาขอม ดวยเพราะเห็นวากองทุนเพื่อสนับสนุน
                       และชวยเหลือภาวะโภชนาการ จะชวยลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาของเด็กนักเรียนในเขตตําบล

                       นาขอม เพื่อเปนการแกปญหาไดอยางยั่งยืนและตรงตามวัตถุประสงคที่ตองการ
                                     โดยโครงการกองทุนเพื่อสนับสนุน และชวยเหลือภาวะโภชนาการเพื่อลดความ
                       เหลื่อมล้ําทางการศึกษาของเด็กนักเรียนในเขตตําบลนาขอม มีวัตถุประสงค 3 ประการ คือ (1) เพื่อ
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102