Page 95 - kpiebook65066
P. 95

28






                       เรื่องของวัตถุประสงค ผลผลิตหรือเปาหมายผลผลิต ตัวชี้วัด ผลที่คาดวาจะไดรับ งบประมาณ และ
                       ผูรับผิดชอบ  (2) จัดทําแผนปฏิบัติการ (Action plan) โดยแผนควรมีความชัดเจนในเรื่องของ
                       เปาหมายผลผลิต งบประมาณ พื้นที่ที่ดําเนินการ ขั้นตอนการดําเนินงาน ระยะเวลาในการดําเนินงาน
                       แตละขั้นตอน และ (3) ออกแบบใหผูที่มีสวนเกี่ยวของเขามามีสวนรวมในโครงการ หรือวางแผน

                       เสริมสรางภาคีเครือขายความรวมมือ
                                                           1) สถาบันพระปกเกลาจัดใหมีการประชุมสัมมนาครั้งที่
                      2 เพื่อใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นเรียนรูจากองคกรปกครองสวนถิ่นตนแบบ ผูวิจัยลงพื้นที่ครั้งที่ 3
                      เพื่อประชุมองคกรปกครองสวนถิ่นเพื่อออกแบบโครงการ ทั้งในเรื่องของชื่อโครงการ ที่มาของปญหา

                      วัตถุประสงค กิจกรรม แผนการดําเนินงาน ผลผลิตหรือเปาหมายผลผลิต ตัวชี้วัด ผลที่คาดวาจะไดรับ
                      งบประมาณ และผูรับผิดชอบ
                                                           2) สถาบันพระปกเกลาจัดใหมีการประชุมสัมมนาครั้งที่
                      3 เพื่อใหขอเสนอแนะแกโครงการที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นนําเสนอ

                                                           3) องคกรปกครองสวนทองถิ่นปรับแกโครงการ
                                                   (3.2.4) ขับเคลื่อนและติดตามความกาวหนาเปนระยะ (ลงมือ
                       ทําจริง ติดตาม ประเมินผล และพัฒนาตอเนื่อง) เปนขั้นตอนที่มีหลักการดังนี้ (1) การใหภาคี

                       เครือขายเขามามีสวนรวมในการดําเนินโครงการ (2) การกําหนดชวงเวลาในการติดตาม และ
                       ประเมินผลโครงการใหชัดเจน (3) ติดตาม และประเมินผลโครงการโดยทําการเปรียบเทียบผลการ
                       ดําเนินงานที่เกิดขึ้นจริงกับผลที่คาดวาจะเกิดขึ้น (4) ติดตาม และประเมินผลโครงการเพื่อทําใหทราบ
                       วาการดําเนินงานเปนไปตามแผนหรือไม มีปญหา และอุปสรรคอยางไร และชวยใหหาแนวทางในการ
                       แกไขปญหาไดทันการณ นอกจากนี้ ยังทําใหทราบวาโครงการบรรลุวัตถุประสงค และเปาหมาย

                       หรือไม ซึ่งจะเปนขอมูลสําคัญที่จะชวยในการตัดสินใจวาจะดําเนินโครงการตอไปหรือไม หากตัดสินใจ
                       ดําเนินโครงการตอ ก็จะมีขอมูลที่จะนํามาใชปรับปรุงการดําเนินโครงการในอนาคต ตลอดจนมีขอมูล
                       ในการวางแผนการขยายผล และพัฒนาความยั่งยืน และ (5) การติดตาม และประเมินผลควรทําเปน

                       รายตัวชี้วัด และใหคะแนนอยางเปนระบบ โดยมีขั้นตอนในทางปฏิบัติดังนี้
                                                           1) องคกรปกครองสวนทองถิ่นดําเนินงานตามโครงการที่
                       กําหนดไว
                                                           2) องคกรปกครองสวนทองถิ่นรายงานความกาวหนาใน

                       การดําเนินโครงการ ผานแบบติดตามการดําเนินโครงการที่ผูวิจัยออกแบบ
                                                           3) ผูวิจัยกําหนดใหมีการประชุมทางออนไลนเพื่อติดตาม
                       ความกาวหนาของโครงการ
                                            (3.3) ระยะขยายผล

                                                   (3.3.1) ถอดบทเรียน/แลกเปลี่ยนเรียนรู โดยสถาบันพระปกเกลา
                       จัดใหมีการประชุมสัมมนาครั้งที่ 4 เพื่อใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นนําเสนอผลการดําเนินโครงการ
                                                   (3.3.2) ตอยอดขยายผล/ขยายเครือขาย ผูวิจัยลงพื้นที่ครั้งที่ 4
                       เพื่อสรุปบทเรียนเพื่อสรุปขอเสนอแนะในการตอยอด ขยายผล และขยายเครือขาย
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100