Page 91 - kpiebook65066
P. 91

24






                       ระดมทุนชวยเหลือการศึกษาแกเด็กยากจนพิเศษโรงเรียนบานตะบิงตีงี และโครงการกองทุนปจจัยยัง
                       ชีพสําหรับเด็กและเยาวชนในเขตบริการโรงเรียนบานเขาตูม เพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (4)
                       เทศบาลเมืองลําพูน ไดแก โครงการการพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณเด็กปฐมวัยโดยใชแนวคิด
                       เรกจิโอ เอมีเลียในสถานศึกษาสังกัดเทศบาลเมืองลําพูนเพื่อลดความเหลื่อมล้ําดานสังคม และ

                       การศึกษา
                                     2) กลุมองคกรปกครองสวนทองถิ่นแหงใหม เปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่
                       คัดเลือกขึ้นมาใหมเพื่อเสริมสราง และขับเคลื่อนใหดําเนินโครงการเสริมสรางความเสมอภาคทาง
                       การศึกษาในพื้นที่ โดยมีขั้นตอนในการคัดเลือกองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เขารวมโครงการ

                       ดังตอไปนี้
                                            (2.1) คัดเลือกองคกรปกครองสวนทองถิ่นเพื่อเขารวมโครงการดวยความ
                       สมัครใจ โดยมีขั้นตอนในการคัดเลือกดังนี้
                                                   (2.๒.1) สถาบันพระปกเกลาเชิญองคกรปกครองสวนทองถิ่นเขา

                       รวมในการสัมมนาเปดตัวโครงการ (open house) โดยมีเปาหมายเพื่อ (1) สรางแรงบันดาลใจให
                       องคกรปกครองสวนทองถิ่นมุงเสริมสรางความเสมอภาคทางการศึกษา (2) ใหความรูเกี่ยวกับทิศทาง
                       และบทบาทขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการเสริมสรางความเสมอภาคทางการศึกษา และ (3)

                       ชี้แจงรายละเอียดโครงการ และการรับสมัครเขารวมโครงการ
                                                   (2.๒.2) สถาบันพระปกเกลารับสมัครองคกรปกครองสวนทองถิ่น
                       ที่จะเขารวมโครงการขับเคลื่อนองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหเปนกลไกลดความเหลื่อมล้ําทางการ
                       ศึกษา
                                                   (2.๒.3) สถาบันพระปกเกลาพิจารณาคัดเลือกองคกรปกครอง

                       สวนทองถิ่นที่จะเขารวมโครงการ
                                            ผลการดําเนินงานไดองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เขารวมโครงการจํานวน
                       13 แหง จําแนกเปนองคการบริหารสวนตําบล 4 แหง เทศบาล 8 แหง และองคการบริหารสวน

                       จังหวัด 1 แหง กระจายอยูใน 10 จังหวัด ไดแก เชียงใหม ลําปาง (2 แหง) พิษณุโลก เพชรบูรณ (2
                       แหง) สุรินทร อุดรธานี นครราชสีมา ศรีสะเกษ สกลนคร นครศรีธรรมราช และภูเก็ต ดังรายชื่อใน
                       ตารางที่ 1.3


                       ตารางที่ 1.3 องคกรปกครองสวนทองถิ่นที่สมัคร และไดรับการคัดเลือกใหเขารวมโครงการ
                         ลําดับ       ชื่อองคกรปกครองสวนทองถิ่น                    ที่ตั้ง
                           ๑     องคการบริหารสวนตําบลทาตอน          อําเภอแมอาย จังหวัดเชียงใหม

                           ๒     องคการบริหารสวนตําบลวอแกว          อําเภอหางฉัตร จังหวัดลําปาง
                           ๓     องคการบริหารสวนตําบลตาตุม           อําเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร
                           ๔     องคการบริหารสวนตําบลนาพู           อําเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี
                           ๕     เทศบาลตําบลเสิงสาง                    อําเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา

                           ๖     เทศบาลเมืองทุงสง                     อําเภอทุงสง จังหวัดนครศรีธรรมราช
                           ๗     เทศบาลเมืองลอมแรด                    อําเภอเถิน จังหวัดลําปาง
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96