Page 83 - kpiebook65066
P. 83

16






                       แกไขปญหา การจัดตั้งกองทุน เชน ใหพิจารณาวากองทุนเปนเพียงกาวแรกของการแกปญหา แต
                       สาระสําคัญคือ องคกรปกครองสวนทองถิ่นจะตอยอดจากกองทุนอยางไรใหสามารถแกปญหาความ
                       เหลื่อมล้ําทางการศึกษาได หรือการแกปญหาความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาดวยการสนับสนุนสิ่งของ
                       อาจไมเพียงพอ ไมกอใหเกิดความยั่งยืน จําเปนตองสนับสนุน และแกปญหาบนฐานขอมูลที่วาเด็ก

                       และเยาวชนตองการการสนับสนุนอะไร อยางไร บริบทของครอบครัวเปนอยางไร เพื่อใหสามารถ
                       แกปญหาไดอยางรอบดาน หรือในกรณีของเด็กนอกระบบ การนําเด็กกลับเขามาอยูในระบบโรงเรียน
                       เพียงอยางเดียวอาจไมสามารถแกไขปญหาได แตควรเปดทางเลือกใหเด็กสามารถเลือกนอกระบบได
                       เชน การศึกษานอกโรงเรียน

                                                2) พัฒนากิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรูกับองคกรปกครองสวน
                       ทองถิ่นที่ประสบความสําเร็จ สําหรับกิจกรรมการศึกษาจากกรณีตัวอยาง ผานการสัมมนาออนไลน
                       เพื่อเรียนรูจากองคกรปกครองสวนทองถิ่นตนแบบในประเทศที่ดําเนินการเสริมสรางความเสมอภาค
                       ทางการศึกษาจากองคกรปกครองสวนทองถิ่นทั้ง 3 กลุม ไดแก “การศึกษาเพื่อสัมมาชีพ: ลดความ

                       เหลื่อมล้ําทางเศรษฐกิจโดยองคการบริหารสวนจังหวัดเชียงใหม “การศึกษาสูความเปนเลิศ: เพิ่ม
                       คุณภาพการศึกษาใหเด็กทุกชวงวัย” โดย เทศบาลนครเชียงราย และ เทศบาลเมืองรอยเอ็ด
                       “การศึกษาเพื่อเด็กทุกกลุม: สรางโอกาสทางการศึกษาใหครอบคลุมและทั่วถึง” โดย องคการบริหาร

                       สวนจังหวัดสุราษฎรธานี องคการบริหารสวนจังหวัดสุรินทร และองคการบริหารสวนตําบลนาพันสาม
                       อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรีนั้นถือเปนกิจกรรมที่ดี อยางไรก็ตามจากขอจํากัดของการสัมมนาออนไลน
                       ขอจํากัดในเรื่องของเวลาทําใหการแลกเปลี่ยนเรียนรูทําไดยาก ดังนั้นผูวิจัยจึงมีขอเสนอวา (1) การ
                       จัดการเรียนรูอาจจัดขึ้นภายหลังจากที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นสามารถปกหมุด และชี้เปา
                       กลุมเปาหมาย และสภาพปญหาความเหลื่อมล้ําแลว เพื่อที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจะสามารถนํา

                       ความรูที่ไดมาใชในการพัฒนาโครงการ (2) จัดใหมีการเรียนรูแยกตามกลุมในขอ 1 โดยเปดโอกาสให
                       มีระยะเวลาในการแลกเปลี่ยนเรียนรูมากขึ้นกวาเดิม (3) หากสามารถจัดใหมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู
                       ณ พื้นที่จริงไดในลักษณะของการศึกษาดูงาน ก็จะทําใหผูเขารวมสัมมนามีประสบการณการเรียนรู

                       มากขึ้น
                                                3) ขยายระยะเวลาในการดําเนินโครงการ จากการดําเนินโครงการ
                       พบวา โครงการที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นนําเสนอมีความหลากหลายของโครงการ โดยเฉพาะ
                       ระยะเวลาในการดําเนินงาน บางโครงการเปนโครงการระยะยาวเสร็จสิ้นในปการศึกษา 2564 หรือ

                       ปงบประมาณ 2565 อีกทั้งยังเกิดปญหาการแพรระบาดของโควิด-19 ทําใหหลายโครงการตอง
                       ชะลอโครงการ ดังนั้นในขณะนี้จึงยังไมสามารถประเมินผลสําเร็จของโครงการได ทําไดเพียงรายงาน
                       ความกาวหนาในการดําเนินงานของโครงการเทานั้น ดังนั้นผูวิจัยจึงมีขอเสนอดังนี้ (1) ขยายเวลาของ
                       โครงการเสริมสรางความเสมอภาคทางการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นจาก 6 เดือน เปน

                       12 เดือนเพื่อใหผลการดําเนินโครงการเกิดผล (2) แบงการดําเนินโครงการเสริมสรางความเสมอภาค
                       ทางการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นออกเปน 3 ระยะ ระยะที่ 1 จัดทําฐานขอมูลและ
                       แผนงานเพื่อลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา ระยะที่ 2 ดําเนินโครงการ และระยะที่ 3 ประเมิน
                       ผลสําเร็จของโครงการรวมถึงจัดใหมีการถอดบทเรียน และการแลกเปลี่ยนเรียนรู (3) กําหนดเงื่อนไข
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88