Page 80 - kpiebook65066
P. 80

13






                       พื้นที่ฐานความรูอีกครั้ง ซึ่งนอกจากจะทําใหองคกรปกครองสวนถิ่น และผูเขารวมมีความรูความเขาใจ
                       เกี่ยวในประเด็นดังกลาวแลว ยังทําใหผูบริหาร และบุคลากรขององคกรปกครองสวนทองถิ่นตระหนัก
                       ถึงความสําคัญของความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา และเห็นความสําคัญของการแกไขปญหา
                                            (1.2.2) การสนับสนุนงบประมาณในการดําเนินโครงการ อาจมีการ

                       สนับสนุนงบประมาณในการดําเนินโครงการใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น แมโดยสวนใหญแลว
                       องคกรปกครองสวนทองถิ่นจะไมมีปญหาเรื่องงบประมาณในการดําเนินงาน ดวยบางองคกรปกครอง
                       สวนทองถิ่นการดําเนินโครงการไมจําเปนตองใชงบประมาณ บางองคกรปกครองสวนทองถิ่นมี
                       งบประมาณสนับสนุนโครงการความเหลื่อมล้ําอยูแลว แตในบางขั้นตอนการดําเนินโครงการหาก

                       ตองการใหเกิดขึ้นจริง อาจใชงบประมาณเปนเครื่องมือในการดึงดูด โดยอาจสนับสนุนงบประมาณ
                       ทั้งโครงการ หรือสนับสนุนงบประมาณเฉพาะในบางกิจกรรมที่ตองการใหเกิดขึ้น เชน สนับสนุน
                       งบประมาณเฉพาะในขั้นตอนของการสํารวจสภาพปญหาความเหลื่อมล้ําซึ่งเปนขั้นตอนสําคัญ
                       ขั้นตอนของการประชุมเครือขายผูมีสวนเกี่ยวของโดยเฉพาะผูปกครอง เปนตน ก็จะชวยสนับสนุนให

                       องคกรปกครองสวนทองถิ่นสามารถดําเนินโครงการไดมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
                                            (1.2.3) ควรมีการจัดทําคูมือโครงการวิจัยขับเคลื่อนองคกรปกครองสวน
                       ทองถิ่นใหเปนกลไกลดความเหลื่อมล้ําในพื้นที่โดยตรง เพื่อใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นใชเปน

                       แนวทางในการดําเนินโครงการ โดยควรสงเสริมใหมีการถอดบทเรียนการดําเนินงานจากโครงการใน
                       ระยะที่ 1 ทั้งในสวนของบทบาทของนักวิจัย บทบาทของสถาบันพระปกเกลา และบทบาทขององคกร
                       ปกครองสวนทองถิ่นผานการดําเนินโครงการทั้ง 12 โครงการ ทั้งนี้อาจจัดใหมีการสรุปบทเรียนการ
                       ดําเนินงานจาก 11 องคกรปกครองสวนทองถิ่นอีกครั้ง
                                  2) ระยะขับเคลื่อนโครงการ

                                     (2.1) ขั้นของการเสาะหาขอเท็จจริง
                                            (2.1.1) สงเสริมใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดทําฐานขอมูลความ
                       เหลื่อมล้ําในระดับพื้นที่กอนเปนโครงการหรือกิจกรรมแรก ดวยองคกรปกครองสวนทองถิ่นสวนใหญมี

                       ขอจํากัดในเรื่องขอมูลความเหลื่อมล้ําในพื้นที่ มีองคกรปกครองสวนทองถิ่นเพียงไมกี่แหงที่มี
                       ฐานขอมูลที่มีประสิทธิภาพ อีกทั้งฐานขอมูลความเหลื่อมล้ําที่จัดทําโดยหนวยงานองคกรตาง ๆ ไม
                       สามารถนํามาใชประโยชนไดอยางเต็มที่ อาทิ ขอมูลสวนใหญเปนขอมูลเด็กนักเรียนในสังกัด สพฐ. ยัง
                       ขาดขอมูลในสวนขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ขาดขอมูลเด็กในบางกลุม เชน เด็กกอนวัยเรียน

                       ขอมูลยังขาดความทันสมัยดวยมีสถานการณที่สงผลตอความเหลื่อมเปลี่ยนแปลงไป และปญหาความ
                       เหลื่อมล้ํามีลักษณะเปนพลวัตมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา อาทิ กรณีของการแพรระบาดของ
                       โควิด-19 และที่สําคัญดวยแตละพื้นที่มีสภาพปญหาแตกตางกัน เชน ปญหาความยากจนแตละพื้นที่
                       ตางมีสาเหตุที่แตกตางกัน ในขณะที่ฐานขอมูลความเหลื่อมล้ํามีความสําคัญอยางมากตอการตัดสินใจ

                       แกไขปญหา ดังนั้นอาจมีการดําเนินการดังนี้
                                                   1) สงเสริมใหเกิดโครงการเสริมสรางความเสมอภาคทางการศึกษา
                       ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเฉพาะในประเด็นของการจัดทําฐานขอมูลความเหลื่อมล้ําในระดับ
                       พื้นที่กอนเปนโครงการแรก หลังจากนั้นจึงขยายผลเปนโครงการอื่น ๆ ตอไป
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85