Page 76 - kpiebook65066
P. 76

9






                       อุปกรณที่จําเปนตอผูพิการควรอยูในสภาพดี พรอมใชงาน และมีจํานวนที่เพียงพอ (๕) ควรเรง
                       ปรับปรุงแกไขกฎระเบียบตาง ๆ ของหนวยงานที่เกี่ยวของใหสอดคลอง และเอื้อตอการทํางานรวมกัน
                       เพื่อใหสามารถบูรณาการการปฏิบัติงานของหนวยงานที่รับผิดชอบดานเด็กดอยโอกาส และเด็กพิการ
                       สามารถรวมกันดําเนินการใหเกิดเปนรูปธรรมไดจริง (๖) ควรผลิตบุคลากรที่มีความรู ความชํานาญ

                       ความเชี่ยวชาญพิเศษสําหรับดูแลเด็กดอยโอกาส และเด็กพิการเพิ่ม ทั้งครู บุคลากรทางการศึกษา
                       แพทย นักจิตวิทยา เพื่อใหบุคลากรในระบบการศึกษาสามารถดูแล และเขาถึงเด็กไดเปนอยางดี (๗)
                       ในการประเมินคุณภาพการศึกษา ควรมีการกําหนดใหมีการประเมินโรงเรียน และผูเรียนใหครอบคลุม
                       ดานทักษะอาชีพ ทักษะวิชาการ และทักษะชีวิตในสัดสวนตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว โดยโรงเรียน

                       ควรจัดกระบวนการการเรียนการสอนใหสอดคลองกับการประเมิน และ (๘) การประเมินคุณภาพ
                       การศึกษาของผูเรียนที่เปนเด็กดอยโอกาส และเด็กพิการควรมีความยืดหยุนทั้งในเรื่องของเวลาเรียน
                       วิธีการสอน การจัดหลักสูตร และการประเมินการเรียน อีกทั้งควรปรับปรุงระเบียบ และขอบังคับให
                       โรงเรียนสามารถดําเนินการไดเองเพื่อใหสามารถจัดการกับเด็กดอยโอกาส และเด็กพิการที่มีความ

                       แตกตางกันออกไปไดอยางเปนอิสระ และสอดคลองกับบริบท
                                            (3.3) แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐
                       – ๒๕๖๔) (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 25๕๙) ไดการกลาวถึง

                       การลดความเหลื่อมล้ําโดยใหยกระดับคุณภาพบริการทางสังคมใหทั่วถึง โดยเฉพาะอยางยิ่งดาน
                       การศึกษา และสาธารณสุข โดยประเด็นการพัฒนาที่สําคัญในดานการลดความเหลื่อมล้ําทางการ
                       ศึกษา คือ (๑) การสรางโอกาสใหกับกลุมเปาหมายประชากรรอยละ ๔๐ ที่มีรายไดต่ําสุดโดย
                       จัดบริการของรัฐที่มีคุณภาพทั้งทางดานการศึกษา และสาธารณสุขใหกับผูดอยโอกาส และผูที่อาศัยใน
                       พื้นที่หางไกล (๒) การกระจายการจัดบริการภาครัฐใหมีความครอบคลุม และทั่วถึงทั้งในเชิงปริมาณ

                       และคุณภาพในดานการศึกษา สาธารณสุข โครงสรางพื้นฐาน และการจัดสวัสดิการ รวมทั้งการจัดสรร
                       ทรัพยากรใหมีการกระจายตัวอยางเปนธรรม สรางปจจัยแวดลอมทางธุรกิจ รวมทั้งการปรับกฎหมาย
                       กฎระเบียบใหเกิดการแขงขันที่เปนธรรม

                                            (3.4) คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา (คณะกรรมการอิสระ
                       เพื่อการปฏิรูปการศึกษา, ม.ป.ป) ยังกําหนดการปฏิรูปเพื่อลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา โดยใน
                       ประเด็นปฏิรูปที่ ๓ วาดวยการปฏิรูปเพื่อลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา โดยมีประเด็นปลีกยอย
                       ออกเปน ๓ ประเด็น ไดแก

                                                   (3.4.๑) การดําเนินการเพื่อลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา โดย
                       ใหกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษาเปนกลไกเพื่อชวยลดปญหาในการเขาถึงการศึกษา ปญหา
                       การออกจากการศึกษากลางคัน และปญหาความเหลื่อมล้ําในคุณภาพของการศึกษา โดยมี
                       กลุมเปาหมายเปนเด็ก เยาวชน และประชาชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย หรือดอยโอกาส โดยมุงหวังวา

                       ทุกคนจะมีความเสมอภาคในการพัฒนาตนเองตามศักยภาพ และเขาถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ รวมถึง
                       ใหบุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษามีการพัฒนาใหมีประสิทธิภาพ และคุณภาพ
                                                   (3.4.๒) การจัดการศึกษาสําหรับบุคคลพิการ บุคคลที่มี
                       ความสามารถพิเศษ และบุคคลที่ตองการการดูแลเปนพิเศษ มุงหวังเพื่อใหบุคคลพิการ บุคคลที่มี

                       ความสามารถพิเศษ และบุคคลที่ตองการการดูแลเปนพิเศษไดรับการพัฒนาอยางทั่วถึงเต็มศักยภาพ
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81