Page 73 - kpiebook65066
P. 73

6






                       คําถาม ตามเนื้อหา สาระ ตามลําดับขั้นตอน ตั้งแตการเลาประสบการณจากวิธีการดําเนินงาน
                       เปรียบเทียบความแตกตางระหวางวิธีดําเนินงานที่วางแผนไวเดิมกับวิธีการดําเนินงานจริง วิเคราะห
                       ผลการดําเนินงานที่ทําไดดี ขอเสนอแนะ และวิธีการดําเนินงานที่จะทําใหงานดีขึ้น วิเคราะหปญหา
                       อุปสรรค ขอเสนอแนะในการปองกัน ขอเสนอแนะเพิ่มเติม การประเมินความพึงพอใจผูเขารวมการ

                       ถอดบทเรียน (๓) ขั้นการประมวลผลขอมูล โดยนําขอมูลมารวบรวม ทบทวนความถูกตองสมบูรณ
                       ตรวจสอบ ปรับปรุง เทียบเคียงขอมูล วิเคราะห สังเคราะห สรุปความ เพื่อตอบคําถามวา อะไรที่
                       เกิดขึ้น เกิดขึ้นไดอยางไร เบื้องหลังความเปนมา การแกไขปญหาอุปสรรค วิธีคิด สภาพแวดลอม
                       ตาง ๆ และ (๔) เขียนรายงานถอดบทเรียน โดยมีเนื้อหาสาระที่สําคัญ เชน บริบทพื้นที่ การดําเนิน

                       โครงการตั้งแตเริ่มตนจนถึงปจจุบัน เบื้องหลังความคิด แรงบัลดาลใจที่ทํา เทคนิค วิธีการ ลูกเลน
                       กลเม็ดในการดําเนินงาน ผลที่เกิดขึ้นในเชิงความสําเร็จ และปญหาอุปสรรค รวมทั้งการแกไข
                       สังเคราะห สรุปความสําคัญขององคความรูที่ถอดบทเรียน สิ่งที่มีคุณคาสําหรับตนเอง ครอบครัว
                       ชุมชน สังคมโดยรวม ทางเลือก ทางออกในการแกไขปญหา คําแนะนํา ขอเสนอแนะ


                              1.3.3 แนวคิดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา
                                     1) ความหมายและสาเหตุ จากการศึกษาพระราชบัญญัติกองทุนเพื่อความเสมอ

                       ภาคทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๓ ไดนิยามคําวาความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาวาหมายถึง
                       ความไมเทาเทียมกันทางการศึกษาอันเนื่องมาจากคุณภาพ หรือมาตรฐานของสถานศึกษา คุณภาพ
                       หรือประสิทธิภาพครู หรือฐานะทางเศรษฐกิจ หรือสังคม (ราชกิจจานุเบกษา, 2561, น.2)
                                            สวนวินิจ ผาเจริญ, ภัทรชัย อุทาพันธ, กรวิทย เกาะกลาง และสุรชัย พุดชู
                       (2564, น. 1) ระบุวา ความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา คือ ความไมเทาเทียมกันของคุณภาพ และ

                       มาตรฐานของการจัดการศึกษาที่นักเรียนนักศึกษาไดรับ อันมีสาเหตุมาจากสภาพเศรษฐกิจ ปจจัย
                       ภูมิหลังทางสังคม และวัฒนธรรมของผูเรียน รวมถึงคุณภาพ และมาตรฐานที่แตกตางกันของ
                       สถานศึกษาตางๆ และระดับการศึกษาของผูเรียนแตละชวงชั้น

                                            ความเหลื่อมล้ําดังกลาวไดทําใหเกิดปญหาตอเด็ก โดยเด็กที่ดอยโอกาสทาง
                       การศึกษา เปนเด็กที่มีอายุต่ํากวา 18 ป ที่ตกอยูในสภาวะที่ยากลําบาก มีโอกาสนอยกวาเด็กทั่วไป
                       และอยูในภาวะเสี่ยงจากการไดรับการเรียนรู เชน เด็กพิการ เด็กที่มาจากครอบครัวยากจน เด็กที่
                       อาศัยอยูในพื้นที่หางไกล หรืออยูในชุมชนแออัด เด็กที่ตองยายถิ่นตามพอแม เด็กไรบาน เด็กจาก

                       ครอบครัวแรงงานขามชาติ เด็กที่อาศัยอยูในสภาพแวดลอม ภาษา วัฒนธรรมที่ไมเอื้ออํานวยจนขาด
                       โอกาสในการเขารับการศึกษา (Unicef, 2007; สํานักงานคณะกรรมการสงเสริม และประสานงาน
                       เยาวชนแหงชาติ อางถึงในดํารง ตุมทอง และคณะ, 2557)
                                     2) ที่มาของความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา ทั้งนี้สามารถสรุปที่มาของความเหลื่อม

                       ล้ําไดดังนี้ (เปรื่อง กิจรัตนภร, ๒๕๕๕; ดํารง ตุมทอง และคณะ; 2557; ทนงศักดิ์ คุมไขน้ํา และคณะ,
                       2559; วินิจ ผาเจริญและคณะ, 2564, น. 7 - 11)
                                            (2.๑) เกิดจากตัวเด็ก และเยาวชนเอง อาทิ เด็ก และเยาวชนมีขอจํากัดทาง
                       รางกาย และการเรียนรู ไดแก ผูพิการ ผูบกพรองทางกาย และการเรียนการเรียนรูยังขาดโอกาสที่เทา
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78