Page 78 - kpiebook65066
P. 78
11
เพื่อการศึกษาสําหรับคนทุกชวงวัย โดยมีตัวชี้วัดสําคัญ เชน มีระบบเครือขายเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อ
การศึกษาที่ทันสมัย ตอบสนองตอความตองการของผูเรียน และผูใชบริการอยางทั่วถึง และมี
ประสิทธิภาพ และสถานศึกษาทุกแหงมีอินเทอรเน็ตความเร็วสูง และมีคุณภาพ เปนตน และ (๓)
ระบบขอมูลรายบุคคล และสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถูกตอง เปนปจจุบัน เพื่อการวาง
แผนการบริหารจัดการศึกษา การติดตามประเมินผล และรายงานผล มีตัวชี้วัดสําคัญ เชน มีระบบ
ฐานขอมูลรายบุคคลที่อางอิงจากเลขที่บัตรประจําตัวประชาชน ๑๓ หลัก ที่สามารถเชื่อมโยง และ
แลกเปลี่ยนขอมูล รวมถึงการใชประโยชนรวมกันระหวางกระทรวงศึกษาธิการ และหนวยงานอื่น ดาน
สาธารณสุข สังคม ภูมิสารสนเทศ แรงงาน และการศึกษา และมีระบบสารสนเทศดานการศึกษา และ
ดานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของที่เปนระบบเดียวกันทั้งประเทศ ครอบคลุม ถูกตอง และเปนปจจุบัน สามารถ
อางอิงได เปนตน
(3.6) อื่น ๆ อาทิ วินิจ ผาเจริญ และคณะ (2564, น. 11 - 12) ระบุวา
การแกไขปญหาความเหลื่อมล้ําทางการศึกษามี 3 วิธี คือ (1) ควรมุงเนนการเพิ่มความเทาเทียมของ
โอกาส (Equality of Opportunity) ในการเลื่อนฐานะทางสังคม (Social Mobility) โดยการปฏิรูป
เชิงโครงสรางใน 5 ประเด็นคือ การปฏิรูประบบภาษี การปฏิรูปที่ดิน การปฏิรูประบบสวัสดิการ การ
ปฏิรูประบบการศึกษา และการปฏิรูประบบการกระจายอํานาจสูทองถิ่น (2) ยกระดับคุณภาพ
การศึกษา ใหสอดคลองกับภูมิสังคม (Social Geography) หรือ Geosocial ซึ่งหมายถึง ความ
แตกตางของแตละพื้นที่ทั้งทางดานภูมิศาสตร สิ่งแวดลอม ชีวภาพ วิถีชีวิต ประเพณี ขนบธรรมเนียม
และวัฒนธรรม โดยมุงเนนใหสถาบันการศึกษาปรับหลักสูตรการศึกษาใหเขากับทองถิ่นนั้น ๆ เพื่อเปน
แนวทางใหผูเรียนมีโอกาสในการตัดสินใจเลือกที่จะเรียนรูใหสอดคลองกับวิถีชีวิต และเพื่อสรางความ
มั่นคงของชีวิตในอนาคต และ (3) เปดโอกาสใหประชาชนไดมีสวนรวมในการพัฒนารูปแบบการศึกษา
ที่สอดคลองกับทองถิ่นอยางจริงจัง ใหประชาชนมีโอกาสในการตัดสินใจ และรวมบริหารทรัพยากรใน
ทองถิ่น ใหเกิดการบูรณาการ และพัฒนาหลักสูตร หรือสนับสนุนชองทางแหงการศึกษาใหกับ
ประชาชนในทองถิ่น ใหมีโอกาสเขาสูระบบการศึกษาในรูปแบบตาง ๆ ที่หลากหลาย
1.3.4 บทเรียนการขับเคลื่อนองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหเปนกลไกลดความเหลื่อมล้ํา
ทางดานการศึกษา จากการขับเคลื่อนองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหเปนกลไกลดความเหลื่อมล้ํา
ทางดานการศึกษาระยะที่ 1 (ทรงชัย ทองปาน, 2564) สามารถสรุปบทเรียนการขับเคลื่อนองคกร
ปกครองสวนทองถิ่นใหเปนกลไกลดความเหลื่อมล้ําทางดานการศึกษาไดดังรายละเอียดตอไปนี้
1) ระยะเริ่มตนโครงการ
(1.1) การคัดเลือกองคกรปกครองสวนทองถิ่นเพื่อเขารวมโครงการ การ
คัดเลือกองคกรปกครองสวนทองถิ่นเพื่อเขารวมโครงการสามารถทําไดหลายวิธีซึ่งแตละวิธีมีขอดี
ขอเสียแตกตางกัน กลาวคือ
(1.1.1) การรับสมัครองคกรปกครองสวนถิ่นในรูปแบบเดิมในลักษณะของ
การตั้งรับ โดยใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นตัดสินใจสมัครดวยตนเองซึ่งโดยสวนใหญการตัดสินใจ
สมัครเขารวมโครงการเกิดจากความสนใจของผูบริหารทองถิ่นเปนหลักซึ่งมีขอดี คือ องคกรปกครอง
สวนทองถิ่นสมัครใจ และมีความพรอมในการเขารวมโครงการ ทําใหการดําเนินงานโครงการสวนใหญ