Page 82 - kpiebook65066
P. 82

15






                       ความสําคัญเฉพาะเด็ก และเยาวชนที่อยูในสถานศึกษาของตนเอง ในขณะที่มองเด็ก และเยาวชนที่อยู
                       ในสถานศึกษาอื่น เชน สพฐ. เปนเด็ก และเยาวชนที่อยูนอกเหนือหนาที่ของตน ดังนั้นควรหาแนวทาง
                       ที่จะทําใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นตระหนักวา การแกไขปญหาความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาของ
                       เด็ก และเยาวชนขององคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น นอกจากจะพิจารณาจากเด็ก และเยาวชนใน

                       สถานศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นแลว ควรพิจารณาเด็ก และเยาวชนในสถานศึกษาอื่น ๆ
                       ดวย โดยใหมองวาเด็ก และเยาวชนทุกคนในพื้นที่ดูแลขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเปน
                       กลุมเปาหมายที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นควรดูแล
                                  (2.2) ขั้นปกหมุด และชี้เปา

                                            (2.2.1) สงเสริม และเนนย้ําใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีกระบวนการ
                       วิเคราะหแนวทาง/วิธีการแกไขปญหาความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาในพื้นที่ทั้งหมดที่จําเปนตอง
                       ดําเนินการ กอนที่จะคัดเลือกบางโครงการขึ้นมาดําเนินการ เพราะหากมีการเก็บขอมูลที่ดี ครอบคลุม
                       มีการวิเคราะหขอมูลที่ถูกตองก็จะทําใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นสามารถนํามาใชเปนฐานในการ

                       วิเคราะหแนวทาง/วิธีการในการแกไขปญหาได อยางไรก็ตามในขั้นตอนนี้ควรสงเสริมใหเกิดการมีสวน
                       รวมของบุคคลที่เกี่ยวของหลายฝาย เพื่อใหไดแนวทาง/วิธีการแกไขปญหาที่สอดคลองกับสภาพปญหา
                       นอกจากนี้อาจเนนย้ําใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นดําเนินโครงการตามสภาพปญหา เนื่องดวย

                       เงื่อนไขตาง ๆ อาทิ ความสนใจของผูบริหาร ความสนใจของผูปฏิบัติงาน ความยากงายในการแกไข
                       ปญหา ทําใหการคัดเลือกโครงการขึ้นมาดําเนินการไมสอดคลองกับสภาพปญหา อาทิ ในพื้นที่ปญหา
                       เด็กพิเศษเปนปญหาหลัก แตดวยการแกไขปญหาทําไดยาก องคกรปกครองสวนทองถิ่นจึงเลือกทํา
                       โครงการอื่น ๆ ทําใหปญหาดังกลาวยังไมไดรับการแกไข
                                            (2.2.2) สนับสนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น

                       เพื่อสรางความเสมอภาคทางการศึกษาในพื้นที่ หรือแผนพัฒนาทองถิ่นเพื่อลดความเหลื่อมล้ําทางการ
                       ศึกษาในพื้นที่ เพื่อเปนการแกไขปญหาระยะยาว และครอบคลุม ดวยปญหาความเหลื่อมล้ําทางการ
                       ศึกษาในพื้นที่ ไมสามารถแกไขปญหาไดเพียงโครงการใดโครงการหนึ่ง อีกทั้งบางปญหาตองอาศัย

                       ระยะเวลาในการดําเนินงานจึงจะสามารถแกไขปญหาได และเพื่อใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น
                       ตระหนักรูถึงปญหา และหาแนวทาง/วิธีการในการแกไขปญหาดังกลาว ดังนั้นในขั้นตอนของการปก
                       หมุด และชี้เปา หนวยงานที่เกี่ยวของอาจสนับสนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดทําแผนพัฒนา
                       ทองถิ่นในภาพรวมเพื่อสรางความเสมอภาคทางการศึกษาในพื้นที่ หรือแผนพัฒนาทองถิ่นเพื่อลด

                       ความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาในพื้นที่ โดยในแผนดังกลาวควรประกอบไปดวยขอมูลบริบทพื้นที่
                       บริบทองคกรปกครองสวนทองถิ่น ปญหาความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา แนวทาง/วิธีการในการแกไข
                       ปญหาความเหลื่อมล้ํา หลังจากนั้นจึงใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นเลือกโครงการที่จะดําเนินการ
                       ภายใตระยะเวลาที่กําหนด สวนโครงการอื่น ๆ ในแผน อาจสนับสนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น

                       นําไปบรรจุในแผนพัฒนาทองถิ่น ทั้งแผนระยะสั้น และแผนระยะยาว
                                         (2.2.3) พัฒนา และออกแบบโครงการ
                                                1) นอกจากการเนนย้ําใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นใชขอมูลความ
                       เหลื่อมล้ําในพื้นที่เปนฐานในการวิเคราะหโครงการแลว ยังควรสงเสริมใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น

                       ตระหนักถึงความยั่งยืนของโครงการ โดยเฉพาะโครงการที่เกี่ยวของกับการสรางภาคีเครือขายเพื่อ
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87