Page 79 - kpiebook65066
P. 79

12






                       ประสบความสําเร็จ อยางไรก็ตามขอเสียคือ มีจํานวนองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่สมัครเขารวม
                       โครงการคอนขางนอยเมื่อเทียบสัดสวนกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เขารวมกิจกรรมการสัมมนา
                       ออนไลนเพื่อเชิญชวนใหเขารวมโครงการ รวมถึงองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เขารวมโครงการอาจ มี
                       สภาพปญหาไมรุนแรงทําใหยากตอการพัฒนาโครงการที่จะตอบโจทกความเหลื่อมล้ํา

                                            (1.1.2) การรับสมัครองคกรปกครองสวนทองถิ่นในลักษณะเชิงรุก โดยอาจ
                       กําหนดพื้นที่เปาหมาย หรือองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปาหมายที่จะดําเนินโครงการ แลวรับสมัคร
                       องคกรปกครองสวนทองถิ่นที่จะเขารวมโครงการ หรือเชิญใหองคกรปกครองสวนถิ่นที่อยูในพื้นที่
                       เปาหมายเหลานั้นเขารวมโครงการโดยตรง ทั้งนี้การกําหนดพื้นที่เปาหมายหรือองคกรปกครองสวน

                       ทองถิ่นเปาหมายอาจพิจารณาไดจาก (1) ความรุนแรงของปญหาความเหลื่อมล้ํา โดยอาจใช
                       ฐานขอมูลที่มีอยูในการวิเคราะหความรุนแรงของปญหา เชน ฐานขอมูลเพื่อความเสมอภาคทาง
                       การศึกษาของกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) แลวนําผลที่ไดมากําหนดพื้นที่
                       เปาหมาย (2) พิจารณาจากสภาพปญหาโดยนําเอาสภาพปญหาที่ทําใหเกิดความเหลื่อมล้ําทางการ

                       ศึกษาเปนตัวกําหนดพื้นที่เปาหมาย อาทิ เด็กยากจน เด็กกําพราเด็กที่เปนชนกลุมนอย เด็กที่ทํางาน
                       รับผิดชอบตนเอง และครอบครัว เด็กถูกทอดทิ้ง เด็กที่ถูกทํารายทารุณ เด็กเรรอน เด็กถูกบังคับให
                       ขายแรงงาน เด็กที่มีปญหาเกี่ยวกับยาเสพติด เด็กในสถานพินิจ และความคุมครองเด็กเยาวชน เด็กที่

                       ไดรับผลกระทบจากเอดส และเด็กที่อยูในธุรกิจทางเพศ เปนตน (3) พิจารณาจากลักษณะของพื้นที่
                       ซึ่งจากการดําเนินโครงการพบวาพื้นที่มีความสัมพันธกับสภาพปญหา โดยสามารถจําแนกไดเปน 3
                       พื้นที่ ไดแก พื้นที่เมือง พื้นที่ชนบท และพื้นที่ชายแดน ซึ่งการรับสมัครดังกลาวมีขอดีคือ ไดองคกร
                       ปกครองสวนทองถิ่นที่ในพื้นที่มีปญหาเรื่องความเหลื่อมล้ําโดยตรง การแกไขปญหาทําไดตรง และ
                       สอดคลองกับเปาหมาย แตมีขอเสียคือ องคกรปกครองสวนทองถิ่นอาจไมเต็มใจเขารวมโครงกา รและ

                       อาจขาดความพรอมในการเขารวมโครงการ เชน บุคลากรผูรับผิดชอบ เวลา งบประมาณ เปนตน ซึ่ง
                       จะสงผลกระทบตอความสําเร็จของโครงการ
                                            (1.1.3) นอกจากนี้การแกไขปญหาความเหลื่อมล้ําในพื้นที่ตองอาศัยภาคี

                       เครือขายที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะเมื่อตองการใหเกิดความยั่งยืนในการดําเนินโครงการภายหลังจาก
                       เสร็จสิ้นโครงการ จึงควรสงเสริมใหมีผูเชี่ยวชาญเฉพาะทางในพื้นที่ใหเขามามีสวนรวมในการดําเนิน
                       โครงการตั้งแตเริ่มตน โดยทําหนาที่เปนที่ปรึกษา การจัดการความรู การแลกเปลี่ยนประสบการณ
                       และการถอดบทเรียนความสําเร็จเกี่ยวกับการลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาในพื้นที่ ทั้งนี้

                       ผูเชี่ยวชาญดังกลาวอาจเลือกจากองคกรปกครองสวนถิ่น หรืออาจจัดตั้งโดยสถาบันพระปกเกลา
                       แลวแตความเหมาะสม
                                     (1.2) ขั้นเตรียมความพรอม
                                            (1.2.1) กอนที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจะเริ่มดําเนินโครงการ ควรจัด

                       ใหมีการอบรมใหความรูเชิงลึกแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น และผูที่จะตองเขามามีสวนรวมในการ
                       พัฒนาโครงการ เกี่ยวกับความเสมอภาคทางการศึกษา และความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา เพื่อให
                       องคกรปกครองสวนทองถิ่นไดเห็นองครวมของปญหาความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาในแตละระดับ
                       ประเภทของความเหลื่อมล้ําทางดานการศึกษา ทั้งมิติความเหลื่อมล้ําในแงของโอกาสในการเขาถึง

                       การศึกษา และความเหลื่อมล้ําอันเนื่องทางจากคุณภาพการศึกษา ทั้งในระบบ และนอกระบบเพื่อปู
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84