Page 75 - kpiebook65066
P. 75

8






                       และการใหความสําคัญกับเด็กดอยโอกาสทางการศึกษา ทําใหมาตรฐานการดูแลกลุมเด็กเหลานี้ไมได
                       รับความสนใจเทาที่ควร ทั้งในระดับของผูกําหนดนโยบาย และผูปฏิบัติ ทําใหการกําหนดนโยบาย
                       และมาตรการในการชวยเหลือไมครอบคลุม และไมมีประสิทธิภาพ และ (4) ขาดการทําแผนกลยุทธ
                       เชิงปฏิบัติการที่เปนรูปธรรม และสามารถนําไปสูการปฏิบัติจริงได และขาดการติดตามผลการ

                       ดําเนินงานอยางตอเนื่อง ทําใหการดําเนินกิจกรรม และโครงการเพื่อเพิ่มโอกาสใหแกเด็กกลุมนี้ขาด
                       ความตอเนื่อง
                                     3) แนวทางในการลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา จากการศึกษายุทธศาสตร
                       ชาติ ๒๐ ป (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) (สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ, 2561)

                       กรอบแนวทางวาระการปฏิรูปการศึกษาของสภาปฏิรูปแหงชาติ (สํานักงานเลขาธิการสภา
                       ผูแทนราษฎร, 2557) แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔)
                       (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ, 25๕๙) คณะกรรมการอิสระเพื่อ
                       การปฏิรูปการศึกษา (คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา, ม.ป.ป) แผนการศึกษาแหงชาติ

                       พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ (สํานักเลขาธิการสภาการศึกษา, ๒๕๖๐) พบวา
                                            (3.1) ยุทธศาสตรชาติ ๒๐ ป (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) (สํานักงานสภา
                       พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2561) ไดใหความสําหรับกับผูมีรายไดนอย และกลุมดอย

                       โอกาส ในสวนดานการศึกษาจะเนนการสรางโอกาสในการเขาถึงการศึกษาที่มีคุณภาพอยางเปน
                       มาตรฐานเสมอกัน โดยเนนในพื้นที่หางไกลทุรกันดาร และยากจน และกลุมเปาหมายที่ตองการการ
                       ดูแลเปนพิเศษ อีกทั้งระบุใหมีการจัดมาตรการเพื่อลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา โดยสนับสนุนผาน
                       กลไกความรวมมือของภาคสวนตาง ๆ เพื่อพัฒนาการศึกษาในระดับจังหวัด นอกจากนี้ยังสนับสนุน
                       แนวทางในการใชเทคโนโลยีเพื่อสงเสริมการเรียนรู และการเขาถึงขอมูลขาวสาร ความรู และ

                       นวัตกรรมของคนทุกกลุม รวมถึงระบบติดตามสนับสนุน และประเมินผลเพื่อสรางหลักประกันสิทธิ
                       การไดรับการศึกษาที่มีคุณภาพของประชาชน
                                            (3.2) กรอบแนวทางวาระการปฏิรูปการศึกษาของสภาปฏิรูปแหงชาติ

                       (สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร, 2557) สภาปฏิรูปแหงชาติใหความสําคัญกับการมุงเรง
                       แกปญหาการเขาไมถึงการศึกษาของเด็กดอยโอกาส และเด็กพิการเพื่อใหไดความเสมอภาค และ
                       ความเทาเทียมตามกฎหมาย โดยมีแนวทางแกไขปญหา 8 ประการ ไดแก (1) กําหนดแผนปฏิบัติงาน
                       โดยใชเด็กเปนศูนยกลาง (Child center) โดยใชชวงอายุของเด็กแตละชวงวัยเปนเกณฑในการจัดสรร

                       ทรัพยากรที่ตองไดรับตามสิทธิอยางครบถวน รวมไปถึงทรัพยากรตามความจําเปนเหมาะสมเพื่อ
                       คุณภาพชีวิตของเด็ก ตลอดจนเสนอใหมีการจัดตั้งคณะกรรมการกลางเพื่อทําหนาที่ดูแล และ
                       ประสานงานการจัดการศึกษาสําหรับเด็กดอยโอกาส และเด็กพิการ (๒) จัดเก็บฐานขอมูลของเด็กดอย
                       โอกาส และพิการเพื่อใหหนวยงานที่มีภารกิจเกี่ยวของสามารถนําขอมูลไปใชในการปฏิบัติภารกิจ โดย

                       ฐานขอมูลตองมีความบูรณาการกันระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่น สํานักงานทะเบียนราษฎร
                       และหนวยงานภาคเอกชน โดยมีกระทรวงศึกษาธิการเปนเจาภาพหลักในการดําเนินงาน และ
                       ประสานงาน (๓) อัตราคาใชจายรายหัวของเด็กดอยโอกาส และเด็กพิการควรมีอัตราที่สอดคลองกับ
                       สภาพเศรษฐกิจในปจจุบัน และควรจะตองคํานึงถึงความแตกตางในมิติตาง ๆ ไดแก ประเภทของ

                       สถานศึกษา ประเภทของกลุมเด็ก พื้นที่ สภาพเศรษฐกิจ สภาพสังคม และความเปนธรรม เปนตน (๔)
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80