Page 72 - kpiebook65066
P. 72

5






                       ดําเนินการหรือปฏิบัติตามแผน โดยการเก็บขอมูลจากแหลงขอมูลตาง ๆ ที่กําหนดไว (๔) การ
                       วิเคราะหขอมูล ตามวัตถุประสงคของการติดตามที่กําหนดไวโดยใชสถิติพื้นฐานตาง ๆ เชน การแจง
                       นับ การหาคารอยละ คาเฉลี่ย ฯลฯ หรือการพรรณนาเปรียบเทียบ และ (๕) การรายงานใหกับบุคคล
                       ที่เกี่ยวของทราบ (กลุมงานติดตาม และประเมินผล สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2550, น. ๔)


                              1.3.2 แนวคิดการถอดบทเรียน
                                     การถอดบทเรียน (Lesson Learned) เปนวิธีการหนึ่งในการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อ
                       ติดตาม และประเมินผลโครงการ โดยมีรายละเอียดดังนี้

                                     1) ความหมาย การถอดบทเรียน คือ วิธีการจัดการความรูแบบหนึ่ง โดยมี
                       วัตถุประสงคเพื่อคนหาคุณคาที่เกิดขึ้นจากการดําเนินโครงการ โดยใชวิธีการรวบรวม วิเคราะห และ
                       สังเคราะหคุณคาจากความรู และประสบการณ ทั้งที่มีอยูเดิม และที่เกิดขึ้นใหมของกลุมเปาหมายที่ได
                       เขารวมดําเนินโครงการ รวมถึงขั้นตอนการดําเนินงาน ผลการดําเนินงานทั้งที่สําเร็จ หรือลมเหลว เพื่อ

                       ใชเปนแนวทางในการทบทวน ปรับปรุงการดําเนินงานใหบรรลุเปาหมาย และสามารถนําไปเผยแพร
                       เพื่อการเรียนรูของผูอื่นได (พงคเทพ สุธีรวุฒิ, ๒๕๕๙, น. ๕๒)
                                     การถอดบทเรียนเปนทั้งแนวคิด และเครื่องมือเพื่อสรางการเรียนรู เปนวิธีการ

                       จัดการความรูโดยการดึงความรูจากการทํางานออกมาเปนทุนในการทํางาน เพื่อยกระดับใหดียิ่งขึ้น
                       การถอดบทเรียนเปนการสกัดความรูที่มีอยูในตัวคนออกมาเปนบทเรียน หรือความรูที่ชัดเจน ผลที่ได
                       คือ ชุดความรูที่เปนรูปธรรม เกิดการเรียนรูระหวางผูเขารวมกระบวนการ มีการแบงปนความรู โดยมี
                       ผลประโยชนรวมกัน มีความไววางใจตนเอง และผูอื่น และมีการเรียนรู (วรางคณา จันทรคง, ๒๕๕๗,
                       น. ๑)

                                     การถอดบทเรียน คือ การทบทวน หรือสรุปประสบการณการทํางานที่ผานมาใน
                       แงมุมตาง ๆ เพื่อใหเห็นถึงรายละเอียดของเหตุปจจัยทั้งภายใน และภายนอกซึ่งทําใหเกิดผลอยางที่
                       เปนอยูในปจจุบัน ทั้งที่สําเร็จ หรือลมเหลว หรือการสืบคนความรูจากการปฏิบัติงานโดยใชวิธีการสกัด

                       ความรู และประสบการณที่ฝงลึกจากกลุมเปาหมายที่ไดรวมการปฏิบัติงานพรอมทั้งบันทึก
                       รายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ผลการปฏิบัติงาน และความรูใหม ๆ ที่เกิดขึ้นระหวางการ
                       ปฏิบัติงานทั้งที่สําเร็จ หรือลมเหลวเพื่อเปนแนวทางในการปรับปรุงการปฏิบัติงานใหบรรลุเปาหมาย
                       และสามารถเผยแพรศึกษาเรียนรูได (อับดุลเลาะ เจะหลงและจิรัชยา เจียวกก, ๒๕๖๓, น. ๒๔๓)

                                     2) ชวงเวลาในการถอดบทเรียน วรางคณา จันทรคง (๒๕๕๗. น. ๑) ระบุวา
                       การถอดบทเรียนสามารถทําได ๓ ชวงคือ ถอดบทเรียนกอนดําเนินการ เปนการเรียนรูกอนที่จะ
                       ดําเนินการผิดพลาด ถอดบทเรียนระหวางดําเนินการ เปนการเรียนรูที่เกิดขึ้นระหวางดําเนินงาน ถอด
                       บทเรียนหลังดําเนินการ เปนการเรียนรูเพื่อการดําเนินงานในครั้งตอไป

                                     3) ขั้นตอนในการถอดบทเรียน พงคเทพ สุธีรวุฒิ (๒๕๕๙, น. ๕๒-๕๓) ไดแบง
                       ขั้นตอนในการถอดบทเรียนออกเปน 4 ขั้นตอน ไดแก (๑) ขั้นเตรียมการกอนการปฏิบัติ เปนการ
                       เตรียมกรอบเนื้อหา ประเด็น ศึกษาเนื้อหา พื้นที่ โครงการที่เกี่ยวของ การเตรียมกรอบ แนวทาง
                       ขั้นตอนการศึกษา และกรอบคําถาม เตรียมประเด็นในการพูดคุย เตรียมกลุมเปาหมายที่จะพูดคุย (๒)

                       ขั้นปฏิบัติการถอดบทเรียน โดยใหเริ่มตนจากการแนะนําตัว วัตถุประสงค ความเปนมา เปดประเด็น
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77