Page 69 - kpiebook65066
P. 69

2






                       เปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางตาง ๆ ทั้งจากใน และตางประเทศ ซึ่งจะเปนกลไกสําคัญในการกําจัดวงจร
                       ความเหลื่อมล้ํา และความยากจนที่จะถูกถายทอดจากรุนสูรุนไดอยางยั่งยืน โดยไมทิ้งใครไวขางหลัง
                       โดยมีเปาหมาย คือ คนไทยทุกคนไดรับการคุมครอง และมีหลักประกันทางสังคมเพิ่มขึ้น ดังนั้น
                       ยุทธศาสตรชาติฯ จึงมีเปาหมายที่จะใหความสําคัญกับการดึงเอาพลังของภาคสวนตาง ๆ ทั้ง

                       ภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชนทองถิ่นมารวมขับเคลื่อน โดยสนับสนุนการรวมตัวกันของประชาชน
                       ในการรวมคิดรวมทําเพื่อสวนรวม การกระจายอํานาจ และความรับผิดชอบไปสูกลไกบริหารราชการ
                       แผนดินไปสูระดับทองถิ่น เสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนในการจัดการตนเอง เพื่อใหเกิดการ

                       เขาถึงบริการ และสวัสดิการที่มีคุณภาพอยางเปนธรรม และทั่วถึง (ราชกิจจานุเบกษา, 2561, น.7)
                              ทั้งนี้องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีความเหมาะสม และเปนกลไกสําคัญในการสรางความเสมอ
                       ภาคทางการศึกษา จากเหตุผลสี่ประการคือ ประการที่ 1 องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีตนทุนทาง
                       สังคมที่ดีในการจัดการศึกษา เพราะองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนองคกรทางการเมืองที่ประชาชน
                       เปนเจาของ มีความรับผิดชอบตอประชาชนในทองถิ่น (Social Accountability) เนื่องดวยผูบริหาร

                       ทองถิ่นมาจากคนในชุมชนทองถิ่น และทําหนาที่ดูแลรับผิดชอบตอประชาชนในทองถิ่นของตนเอง
                       ประการที่ 2 องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีอํานาจ และความรับผิดชอบตามกรอบกฎหมาย (Legal
                       Accountability) โดยเฉพาะอยางยิ่งอํานาจ และหนาที่ในการจัดบริการสาธารณะ ซึ่งการจัด

                       การศึกษาใหแกประชาชนในทองถิ่น ถือเปนการจัดบริการสาธารณะรูปแบบหนึ่ง ฉะนั้นองคกร
                       ปกครองสวนทองถิ่นจึงสามารถที่จะใชระบบงบประมาณ บุคลากร และการดําเนินงานเพื่อการจัด
                       การศึกษาไดอยางมีเอกภาพ มีความยืดหยุน มีอิสระ อันทําใหเกิดคุณภาพของการศึกษา ประการที่ ๓
                       องคกรปกครองสวนทองถิ่น เปนองคกรทางการเมืองที่อยูใกลชิดกับปญหา และความตองการ ดังนั้น
                       องคกรปกครองสวนทองถิ่นจึงมีความสามารถในการเขาถึงขอมูลเชิงลึกเฉพาะในพื้นที่ ปญหาซึ่งเปน

                       ความตองการเฉพาะแหง และสามารถตอบสนองไดอยางตรงจุด รวดเร็ว และประการที่ 4 องคกร
                       ปกครองสวนทองถิ่นสามารถที่จะสรางความเชื่อมโยงกิจกรรมทางการศึกษากับปญหาอื่น ๆ ในสังคม
                       ทองถิ่น เพราะสามารถนําปญหาที่เกิดขึ้นจริงในชุมชน มาสรางเปน “หองปฏิบัติการทางสังคม”

                       (Social lab) แลวนําไปจัดการศึกษาใหเด็กไดเรียนรู และทําความเขาใจชีวิตผานปญหาของชุมชน
                       และวิถีชีวิตจริงของคนในพื้นที่
                              รวมถึงที่ผานมาวิทยาลัยพัฒนาการปกครองทองถิ่น สถาบันพระปกเกลาไดจัดใหมี
                       โครงการวิจัยขับเคลื่อนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหเปนกลไกลดความเหลื่อมล้ําในพื้นที่ซึ่งไดรับ

                       ความสําเร็จเปนอยางดี เนื่องจากมีองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เขารวมโครงการจํานวน ๑๑ แหง มี
                       โครงการที่ชวยลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาในพื้นที่ ๑๒ โครงการ แมในขณะนี้โครงการดังกลาว
                       จะยังอยูในระหวางดําเนินโครงการก็ตาม แตเพื่อเปนการขยายผลไปยังองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่น
                       ๆ วิทยาลัยพัฒนาการปกครองทองถิ่นจึงไดจัดโครงการวิจัยนี้ขึ้นอีกครั้ง โดยเปนโครงการวิจัย

                       ขับเคลื่อนองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหเปนกลไกลดความเหลื่อมล้ําทางดานการศึกษา (ระยะที่ 2)
                       ซึ่งอาศัยผลที่ไดจากการถอดบทเรียนจากการดําเนินโครงการระยะที่ ๑ มาเปนแนวทางในการ
                       ดําเนินงาน ทั้งนี้วัตถุประสงคของโครงการดังกลาวยังคงมุงเนนไปที่การเสริมสรางใหองคกรปกครอง
                       สวนทองถิ่นในการสรางความเสมอภาคทางการศึกษาในพื้นที่ของตนเอง ขณะเดียวกันก็ยังติดตาม

                       โครงการในระยะแรก และคัดเลือกองคกรปกครองสวนทองถิ่นบางแหงขึ้นมาถอดบทเรียน
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74