Page 71 - kpiebook65066
P. 71

4






                                     2) จุดมุงหมายของการติดตามโครงการ จุดมุงหมายของการติดตามจึงเปนการ
                       แกปญหาขณะที่ดําเนินงานตามโครงการ เพื่อติดตามความครบถวนของปจจัยการปฏิบัติงานตามแผน
                       และเพื่อติดตามผลวาตรงตามแผนหรือไม เพื่อหาแนวทางแกไข ปรับปรุงการดําเนินงานใหเปนไปตาม
                       เปาหมายที่กําหนดไว (กลุมงานติดตาม และประเมินผล สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2550, น. ๓;

                       ศูนยทดสอบ และประเมินเพื่อพัฒนาการศึกษา และวิชาชีพ, 2558, น. 4;)
                                     การติดตามจึงกอใหเกิดประโยชน คือ เปนการแกปญหาระหวางการดําเนินงาน เปน
                       การสรุปบทเรียน สําหรับการวางแผน และจัดโครงการใหดีขึ้นในอนาคต (ศูนยทดสอบ และประเมิน
                       เพื่อพัฒนาการศึกษา และวิชาชีพ, 2558, น. 4)

                                     3) หลักในการติดตามโครงการ การติดตามโครงการ ควรไดมาซึ่งคําตอบตาง ๆ
                       ตอไปนี้ คือ (๑) ในการดําเนินงานแตละขั้นตอนใชทรัพยากรอยางไร ทั้งทรัพยากรคน ขอมูลและ
                       ฐานขอมูล รวมถึงชุดความรู และความรูที่ใชในการดําเนินโครงการ มีการใชงบประมาณมากนอย
                       เพียงใด  มีการใชสถานที่ เครื่องมือ วัสดุอุปกรณอยางไร มีการใชทุนทางสังคมที่มีอยูมาสงเสริมการทํา

                       โครงการอยางไร (๒) ในการดําเนินโครงการไดปฏิบัติงานตามแผนงานที่กําหนดหรือไม อยางไร มี
                       ปญหาอุปสรรคอะไร และมีการปรับวิธีการทํางาน รวมถึงมีการปรับแผนอยางไร ดังนั้น การติดตาม
                       โครงการใชแผนเปนกรอบอางอิงสําหรับการติดตาม และ (๓) การดําเนินโครงการไดผลแตละขั้นตอน

                       ตรงตามที่วางแผนหรือไม และควรจะตองปรับวิธีการทํางานอยางไร รวมถึงตองการการหนุนเสริมจาก
                       ใคร หนวยงานใด ในเรื่องใดบาง อยางไร (ศูนยทดสอบ และประเมินเพื่อพัฒนาการศึกษา และวิชาชีพ
                       , 2558, น. 8; พงคเทพ สุธีรวุฒิ, ๒๕๕๙, น. ๒๔-๒๕)
                                     4) ขอมูลสําคัญที่ไดจากการติดตามโครงการ ขอมูลสําคัญที่ไดจากการติดตาม
                       โครงการ ไดแก (๑) ผลการปฏิบัติงานของผูรับผิดชอบโครงการ หรือกิจกรรม เพื่อใชตรวจสอยวาได

                       ปฏิบัติไปตามระยะเวลาที่กําหนดไวในแผนหรือไม รวมถึงงบประมาณในการดําเนินงาน (๒) ผลการใช
                       ปจจัย หรือทรัพยากร (Input) เพื่อตรวจสอบดูวา โครงการไดใชทรัพยากร ทั้งดานปริมาณ และ
                       คุณภาพตามระยะเวลาที่กําหนดไวหรือไม และ (3) ผลการดําเนินงาน (Output) เพื่อตรวจสอบดูวา

                       ไดผลตรงตามเปาหมายที่กําหนดไวหรือไมเพียงใด มีปญหา อุปสรรคอะไรบาง ทั้งในดานแผนงาน
                       และขั้นปฏิบัติงาน (กลุมงานติดตามและประเมินผล สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2550, น. ๓)
                                     5) ขั้นตอนในการติดตามโครงการ การติดตามมีขั้นตอนในการดําเนินงานดังนี้ (๑)
                       การกําหนดวัตถุประสงค และขอบเขตการติดตาม โดยการศึกษา และรวบรวมขอมูลของโครงการที่จะ

                       ติดตาม ทั้งในสวนของวัตถุประสงคหลัก ผูรับผิดชอบ ผูใชผลจากการติดตาม การนําผลการติดตามไป
                       ใช ขอมูลที่ตองการ (๒) การวางแผนติดตาม ไดแก การนําวัตถุประสงค และขอบเขตการติดตามมา
                       กําหนดวัตถุประสงคในการติดตาม แหลงขอมูล เวลาที่เก็บขอมูล วิธีการเก็บขอมูล และวิธีการ
                       วิเคราะหขอมูล พรอมทั้งสรางเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล อาทิ แบบสัมภาษณ แบบสอบถาม

                       เปนตน โดยพงคเทพ สุธีรวุฒิ (๒๕๕๙, น. ๕๑) ระบุวา การรวบรวมขอมูลเพื่อการประเมินผลมี ๒ วิธี
                       วิธีการแรก คือ การเก็บขอมูลแบบไมมีโครงสราง เปนการเก็บขอมูลเชิงคุณภาพ เชน การถอด
                       บทเรียน การทําสุนทรีสนทนา กลุมสนทนา การเรียนรูหลังทํางาน การสัมภาษณเชิงลึก ผูที่เกี่ยวของ
                       การใชกลุมสัมภาษณ การสังเกตอยางมีสวนรวม เปนตน สวนวิธีการที่สอง คือ การเก็บขอมูลแบบมี

                       โครงสราง สวนใหญเปนการเก็บขอมูลเชิงปริมาณ เชน การใชแบบสอบถาม การใชแบบสัมภาษณ (๓)
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76