Page 461 - kpiebook65063
P. 461

ขั้นตอนที่ 5 การออกแบบระบบ SGB “ธนาคารน้ำใต้ดินแบบพอเพียง”


                 การออกแบบระบบขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์และความเหมาะสมและสภาพปัญหาของ
     ท้องถิ่นกับภารกิจที่ท้าทายหลังวิกฤตโควิด-19   ความชํานาญพิเศษหลายด้านในการวิเคราะห์ไม่สามารถทำการปักหมุดชี้จุดหรือจะทำตาม
           พื้นที่ โดยหลักการที่ถูกต้องคือการวางตำแหน่งการขุดบ่อให้มีประสิทธิภาพ ต้องขุดบ่อเป็น
           กลุ่มเครือข่ายที่มีการเชื่อมโยงและสามารถส่งน้ำถึงกันได้ จำเป็นต้องใช้องค์ความรู้และทักษะ



           ความเข้าใจของตนเองได้เพียงลำพัง ตำแหน่งบ่อขุดบ่อเติมบ่อดักตะกอน จะถูกวาง อย่างถูกต้อง
           หรือเหมาะสมกับพื้นที่ทางภูมิศาสตร์เนื่องจากการกำหนดด้านกายภาพของ ร่องน้ำ ภายใต้บริบท
           ของพื้นที่จริง


                 ขั้นตอนที่ 6 การดำเนินการก่อสร้างตามแผนงานที่กำหนดไว้

                 การเลือกดำเนินการในช่วงฤดูแล้ง เครื่องจักรที่ใช้ต้องมีสมรรถนะที่ดี เพื่อลดปัญหา

           การดําเนินงาน สามารถขุดบ่อเติมน้ำได้ลึกตามที่ออกแบบไว้ ข้อจํากัดของการก่อสร้าง สภาพ
           พื้นที่ไม่เอื้ออํานวยต่อการทำระบบแหล่งน้ำดิบยังไม่ สะอาดปลอดภัย พื้นที่ทำงานอยู่ในป่าไม้
           ตามกฎหมาย สิ่งแวดล้อมมีปัญหา แหล่งมลพิษ ทางดินและทานน้ำอยู่ในปริมาณมาก บุคลากร

           ยังไม่เชื่อมั่น ขาดประสบการณ์ ชุมชนไม่เห็นด้วย เกิดความขัดแย้ง การเข้าพื้นที่ไม่ได้ ไม่มีที่ทิ้งดิน
     ส่วนที่   บันทึกเรื่องเด่นรางวัลพระปกเกล้า: ท้องถิ่นกับบริการสาธารณะ
                 ขั้นตอนที่ 7 การเก็บข้อมูล ติดตามและประเมินผล


                 ประสิทธิภาพของบ่อธนาคารน้ำใต้ดิน เรื่องการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมทั้งในเขตพื้น สามารถ
           เกิดผลสัมฤทธิ์ประเมินผลได้ทันที เมื่อก่อสร้างเสร็จ แต่ในเรื่องของการเติมน้ำในระบบปิด

           ในการนํากลับมาใช้ใหม่จะต้องใช้เวลา 1-2 ปีจึงจะเห็นผล เนื่องจากบริบท แต่ละพื้นที่แตกต่างกัน
           ในการประเมินจากตัวชี้วัดตามวัตถุประสงค์ในการทำโครงการ ธนาคารน้ำใต้ดินที่วางไว้ เช่น

           มีปริมาณน้ำเพิ่มสูงขึ้น ลำห้วย บึง หนอง เพื่อน แม่น้ำ มี พื้นที่น้ำท่วมทั้งลดลง และมีปริมาณ
           น้ำบาดาลเพิ่มขึ้น มีระบบนิเวศที่ดีขึ้น

                 ขั้นตอนที่ 8 สรุป การวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค


                 การพัฒนาระบบ ระบบ SGB “ธนาคารน้ำใต้ดินแบบพอเพียง” ในพื้นที่จะทำโครงการ
           จำเป็นต้องวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค ในการดำเนินการ สามขั้นตอน คือ


                 1. วิเคราะห์ก่อนการดําเนินงาน ในเรื่องของ ปัญหา ความรุนแรง สาเหตุและแนวทางแก้ไข

                 2. วิเคราะห์และทบทวนระหว่างการดําเนินงาน วิธีการที่ถูกต้อง การปรับเปลี่ยนทัศนคติ
           การสร้างผังน้ำ การวางแผน และการนําน้ำกลับมาใช้





          0    สถาบันพระปกเกล้า
   456   457   458   459   460   461   462   463   464   465   466