Page 459 - kpiebook65063
P. 459

เดิมมีการระบายน้ำออกจากพื้นที่ผ่านลำคลองเข้าท่วมบ้านเรือนในบริเวณพื้นต่ำกว่า หรือท้ายน้ำ

           เช่น ภาคกลางการระบายน้ำลงสู่ทะเล (องค์การบริหารส่วนตำบลเก่าขาม, 2561)

                 การขุดบ่อประดิษฐ์เพื่อส่งน้ำฝนไปกักเก็บไว้ใต้ดิน เป็นประโยชน์ในการเพิ่มปริมาณ
     ท้องถิ่นกับภารกิจที่ท้าทายหลังวิกฤตโควิด-19   ภัยแล้งและน้ำท่วมขังได้อย่างยั่งยืน และมีการพัฒนารูปแบบและแนวทางในการปฏิบัติที่ถูกต้อง
           น้ำบาดาลซึ่งแนวคิดนำร่องที่ตำบลเก่าขามได้ประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูง สามารถแก้ไขปัญหา



           ตามหลักวิชาการโดยสถาบันวิจัยและพัฒนาภูมิปัญญาสร้างสรรค์ การรณรงค์ไม่ใช่วัสดุที่เป็น

           มลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ภายใต้หลักคิดและเทคโนโลยีที่ทันสมัย Bio Technology เพื่อลด
           การปนเปื้อนต่อการเติมน้ำฝนลงเก็บไว้ใต้ดิน เรียกว่า บ่อแบบร่องน้ำไร้ท่อพร้อมบ่อประดิษฐ์
           ในชุมชน เมื่อน้ำฝนตกลงสู่พื้นดินเป็นการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่ของตนเอง ก่อนที่น้ำจะไหล

           ไปรวมสะสมเพิ่มปริมาณมากขึ้น ซึ่งยากแก่การบริหารจัดการ

                 วิธีและขั้นตอนการทำธนาคารน้ำใต้ดินระบบปิดนั้น ตามโครงการดำเนินงานพิจารณา
           เห็นว่าเนื่องจากสภาพปัจจุบันชุมชนในเมือง ชุมชนแออัด ชุมชนในชนบท ฯลฯ ปัจจุบัน

           การก่อสร้างบ้านด้วยการถมดินสูงเพื่อหนีน้ำท่วม ทำให้ชาวบ้านที่อยู่ในพื้นที่ต่ำได้รับความเดือนร้อน
           จากน้ำท่วมขัง การทำธนาคารน้ำใต้ดินระบบปิดในครัวเรือน จึงสามารถแก้ปัญหาน้ำท่วมขังได้

           สามารถทำได้ง่าย ทำได้ทันที ใช้งบประมาณน้อย
     ส่วนที่   บันทึกเรื่องเด่นรางวัลพระปกเกล้า: ท้องถิ่นกับบริการสาธารณะ
                 การเลือกพื้นที่ทำธนาคารบ่อน้ำใต้ดินระบบปิด ให้เลือกพื้นที่ต่ำที่เป็นจุดรวมมีน้ำขัง
           ที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อน รำคาญ บริเวณที่เปียกแฉะ เช่น หลังห้องน้ำ บริเวณล้างถ้วยล้างจาน

           หรือทางน้ำผิวดินไหลผ่านมีน้ำท่วมขัง


         
  กระบวนการดำเนินงาน


                 ขั้นตอนที่ 1 การเก็บข้อมูลพื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ สภาพภูมิประเทศในพื้นที่ดําเนินงาน

                 การดําเนินงานรวบรวมและวิเคราะห์ฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องการศึกษาบริบททั่วไปของพื้นที่

           จัดทำโครงการ เพื่อให้ทราบถึงปัญหา สาเหตุ และความต้องการบองภาค ประชาชน ตลอดจน
           ข้อจํากัดในการพัฒนาแหล่งน้ำ นําไปสู่การบูรณาการความร่วมมือ เชื่อมโยงแผนการพัฒนาจังหวัด

           และโครงการต่าง ๆ ที่จัดทำไว้แล้ว เช่น ฝาย การขุดลอก ลำน้ำต่าง ๆ ทำการศึกษาทางด้าน
           วิศวกรรม ธรณีฟิสิกส์ และทางด้านชลศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ความสอดคล้องและเกื้อกูล
           กับการทำระบบ SGB เพื่อหาแนวทางที่ตอบโจทย์ ข้อมูลพื้นฐานมีองค์ประกอบ ดังนี้

                 1. ภูมิประเทศของพื้นที่ ทิศทางการไหลของน้ำผิวดิน และเส้นชันความสูง (Contour)

           จากแผนที่ทหารตามมาตราส่วน 1: 50,000 (Topographic Map) ได้แก่ ความลาดเอียง ระดับ




               สถาบันพระปกเกล้า
   454   455   456   457   458   459   460   461   462   463   464