Page 460 - kpiebook65063
P. 460

ความสูงตํ่า กำหนดขอบเขตที่ลุ่ม ที่ดอน พื้นที่แล้งซ้ำซาก เพื่อประกอบการกำหนดพิกัดตำแหน่ง

               ในการวางระบบเติมน้ำใต้ดินในการกำหนดฝังน้ำในพื้นที่

                     2. มอบเขตพื้นที่ลุ่มน้ำของลำห้วยต่าง ๆ พิจารณาถึงปริมาณน้ำที่ไหลผ่านและขอบเขต

               พื้นที่รับผิดชอบให้ครอบคลุมทุกมิติ

                     3. การวางแผนการประเมินและวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสียในพื้นที่การกำหนดรูปแบบและ

               พื้นที่ในการใช้ประโยชน์จากธนาคารน้ำใต้ดิน

                     ขั้นตอนที่ 2 การกำหนดทิศทางของน้ำใต้ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำระดับชุมชน                ท้องถิ่นกับภารกิจที่ท้าทายหลังวิกฤตโควิด-19


                     การศึกษาสภาพทางธรณีวิทยา และสภาพอุทกธรณีวิทยาของชิ้นน้ำบาดาลในพื้นที่
               ความหนาของชั้นน้ำบาดาลเป็นส่วนสำคัญของการกำหนดดับความลึกของบ่อเติมน้ำในการสร้าง
               ระบบเติมน้ำใต้ดินจะต้องไม่กระทบกับชั้นบาดาลที่ความลึก 15 เมตรจากผิวดินลงไป ตามที่

               (พรบ.น้ำบาดาล) กำหนดไว้

                     ขั้นตอนที่ 3 การเจาะสํารวจ ชั้นดิน เพื่อการดําเนินงานเติมน้ำให้เกิดประสิทธิภาพ


                     ขั้นตอนนี้เป็นการสํารวจข้อมูลทางธรณีวิทยา ในการสํารวจพื้นที่ภาคสนามการเปิดบ่อดิน
               สระ การขุดตัดหน้าดิน หลุมเจาะสํารวจต่าง ๆ เช่น การเจาะเพื่อทำรากฐานการก่อสร้าง
               จุดสํารวจทางธรณีวิทยา หลุมเจาะและการพัฒนาบ่อบาดาลเก่าที่ไม่สามารถใช้งานได้ ของ

               หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ทราบถึงชั้นดิน ชั้นหินขอบเหตความลึกในพื้นที่ ความหนาของ
               ชั้นดินเหนียว ความลึกของชั้นหินดินดาน และหากเป็นหินทุบน้ำจะทำให้เป็นอุปสรรคให้การ

               เติมน้ำไม่เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายที่วางไว้จะไม่สามารถการแก้ไขปัญหาพื้นที่นั้นได้

                     ขั้นตอนที่ 4 การวางแผนทำฝั่งน้ำในตำบลและกำหนดระบบเติมน้ำ


                     การวางแผนทำฝั่งลุ่มน้ำระดับตำบลมีความสำคัญต่อการกำหนดรูปแบบและงานเป็นอย่างยิ่ง   ส่วนที่   ภารกิจที่ท้าทายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหลังวิกฤตโควิด-19
               เป็น Roadmap ในการดำเนินการ โดยใช้ข้อมูลแผนที่ทางทหารมาตราส่วน 1:50,000 และ
               ภาพถ่ายทางอากาศ แผนที่ทำมือจากชุมชน ซึ่งใส่ข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากการสํารวจลงในแผนที่

               ได้แก่ อาคารบังคับน้ำต่าง ๆ เช่น ฝายประตูระบายน้ำ แก้มลิง ท่อลอด ท่อระบายน้ำ แหล่งน้ำ
               สาธารณะเดิม ลำห้วย หรือโครงสร้างพื้นฐาน ต่าง ๆ ในพื้นที่ เพื่อวางระบบการเชื่อมโยงฐาน

               ข้อมูลในการศึกษาวิเคราะห์ในการนำแนวทาง ไปแก้ไขปัญหาให้เกิดความมั่นใจในแหล่งน้ำต้นทุน
               ต้องมีคุณภาพน้ำที่สะอาด รู้แหล่งที่มา ปริมาณน้ำ และปลอดภัยไม่มีสารปนเปื้อน









                                                                              สถาบันพระปกเกล้า     9
   455   456   457   458   459   460   461   462   463   464   465