Page 465 - kpiebook65063
P. 465
การแก้ไขปัญหาน้ำเพื่อการประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ผลของการทำนวัตกรรมธนาคารน้ำใต้ดินแบบพอเพียง ทำให้สระน้ำ บ่อน้ำ ลำห้วย
ธรรมชาติ มีน้ำเพียงพอกับการทำเกษตรได้อย่างเหมาะสมตลอดปี เกษตรกรปลูกพืชผัก สวนครัว
ท้องถิ่นกับภารกิจที่ท้าทายหลังวิกฤตโควิด-19 (Good Agricultural Practice: GAP) เกษตรอินทรีย์ พืช 18 ชนิด เป็นการเพิ่มศักยภาพแหล่งน้ำ
ผักปลอดสารพิษ ปัจจุบันเกษตรกรในตำบลเก่าขามได้รับมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี
ของชุมชนหรือแหล่งน้ำเดิมซึ่งมีกระจายอยู่ทั่วในทุกตำบล ให้สามารถนำน้ำที่ไหลทิ้งไปสำรอง
เก็บไว้ในชั้นน้ำใต้ดิน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อการพัฒนาอาชีพและการดำรงชีพของคนในชุมชน
รวมถึงการเพิ่มมูลค่าของน้ำและที่ดินทำกิน ส่งผลให้มีความมั่นคงของชีวิต ก่อให้เกิดและรายได้
ยั่งยืนสู่คนในท้องถิ่นรุ่นหลัง ซึ่งจะช่วยลดปัญหาในสังคม ลดปัญหาการอพยพไปขายแรงงาน
ในเมืองใหญ่ และลดปัญหาหนี้สินได้ อีกทั้งทำให้เกิดแบบอย่างการนำพลังสะอาดมาใช้ซึ่งเป็นมิตร
ต่อสิ่งแวดล้อมช่วยลดต้นทุนการผลิตเป็นผลให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่การบริการจัดการทรัพยากร
ที่มีอยู่ เกิดรายได้ทางการเกษตรโดยเฉพาะภาคชุมชน เป็นต้นแบบที่หลากหลายของอาชีพ
เพื่อสร้างความเข้มแข็งของคนในชุมชน อาทิ การรวมกลุ่มปลูกพืชและการรวมกลุ่มเลี้ยงสัตว์
ซึ่งมุ่งเน้นความปลอดภัยทั้งผู้ผลิต ผู้บริโภคและกลุ่มอื่น ๆ ผลักดันเป็นแนวทางนโยบายการสร้าง
ความมั่นคงทางอาหาร ที่เกิดจากการร่วมงานแบบบูรณาการร่วมกันระหว่างองค์การบริหาร
ส่วนที่ บันทึกเรื่องเด่นรางวัลพระปกเกล้า: ท้องถิ่นกับบริการสาธารณะ
ส่วนตำบลเก่าขามกับชุมชนและหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผู้นำชุมชนเพื่อสร้างแรงจูงใจให้กับ
คนในชุมชนเกิดการพัฒนาอาชีพสู่ความมั่นคงและความยั่งยืนของชุมชน (พิมพ์พิสุทธิ์ อ้วนล้ำ,
2560)
แผนภาพแสดงรายงานความมั่นคงด้านการประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ที่มา : ฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร (2564)
สถาบันพระปกเกล้า