Page 469 - kpiebook65063
P. 469

ผลกระทบจากการดำเนินโครงการ


                 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณน้ำฝนและปริมาณน้ำร่วมกับ แผนที่ของการเกิดภัยแล้ง
           แสดงให้เห็นถึงพื้นที่ตำบลเก่าขามไม่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงประสบภัยแล้ง เนื่องจากธนาคารน้ำใต้ดิน
     ท้องถิ่นกับภารกิจที่ท้าทายหลังวิกฤตโควิด-19   โครงข่ายธนาคารน้ำใต้ดินในพื้นที่ แต่โครงการธนาคารน้ำใต้ดินไม่สามารถทำในเขตอุตสาหกรรม
           มีส่วนช่วยให้เกิดการหมุนเวียนของน้ำ น้ำที่สะสมไว้ในบ่อใต้ดินทำให้เกิดความชุ่มชื้น เกิดเป็น



           ได้และไม่สามารถทำลายล้างสารเคมีได้โดยตรง อีกทั้งสภาพทางธรณีวิทยาบางพื้นที่ต้องใช้เวลา

           ศึกษาข้อมูลในการดำเนินการนานพอสมควร

           ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน

                 โครงการธนาคารน้ำใต้ดินแบบพอเพียง องค์การบริหารส่วนตำบลเก่าขามประสบปัญหา
           เรื่องพื้นที่ งบประมาณ ความรู้และความเข้าใจของประชาชน นายกองค์การบริหารส่วนตำบล

           เก่าขามจึงใช้พื้นที่และงบประมาณส่วนตัว นำร่องเป็นต้นแบบ สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับ
           บุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลเก่าขามและผู้สนใจจากการดำเนินโครงการธนาคารน้ำใต้ดิน

           แบบพอเพียง สามารถสรุปปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานได้ ดังนี้

                 ธนาคารน้ำใต้ดินเป็นโครงการใหม่ที่ยังไม่เคยดำเนินการ ผู้นำชุมชนและประชาชนในตำบล
     ส่วนที่   บันทึกเรื่องเด่นรางวัลพระปกเกล้า: ท้องถิ่นกับบริการสาธารณะ
           เก่าขามยังขาดความเข้าใจ ในการนำโครงการธนาคารน้ำใต้ดินแบบพอเพียงไปแก้ปัญหาให้
           ชุมชน ขาดบุคลากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ระบบธนาคารน้ำใต้ดินแบบพอเพียง ทำให้เกิด
           การขับเคลื่อนโดยประชาชนค่อนข้างยาก การรับรองด้านวิศวกรรม และวิชาการ ทำให้ยากแก่

           การบริหารจัดการและการบริหารจัดการภายใต้ข้อจำกัดด้านงบประมาณที่จะขับเคลื่อน
           ให้มีประสิทธิภาพและประโยชน์สูงสุด แก่ประชาชน จำนวน 2,000 ครัวเรือน ค่อนข้างช้าและ

           มีขีดจำกัด อีกทั้งมีข้อจำกัดเรื่องเอกสารสิทธิ์ที่ดิน ที่ทำโครงการ การดำเนินงาน และ
           ประชาสัมพันธ์ยังไม่ทั่วถึงเนื่องด้วยพื้นที่กว้างขวางและห่างไกลกัน


         
  ปัจจัยความสำเร็จ


                 การดำเนินโครงการธนาคารน้ำใต้ดินแบบพอเพียง การบริหารจัดการน้ำนอกเขต

           ชลประทานระบบน้ำใต้ดิน นายชาตรี๊ ศรีวิชาฐา พร้อมคณะผู้บริหารและบุคลากรท้องถิ่น
           มีความมุ่งมั่นในการช่วยเหลือคนในชุมชนเก่าขามให้พ้นจากปัญหา น้ำท่วม น้ำแล้ง เป็นประจำทุกปี

           พร้อมมุ่งมั่นในการส่งเสริมพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืนโดยได้น้อมนำพระบรมราโชวาทของ
           พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรว่าด้วย
           การบริหารจัดการน้ำ และได้น้อมนำแนวทางศาสตร์พระราชา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่





               สถาบันพระปกเกล้า
   464   465   466   467   468   469   470   471   472   473   474