Page 466 - kpiebook65063
P. 466

แผนภาพแสดงรายงานจำนวนพื้นที่ทำอาชีพเกษตรกรรม

























               ที่มา : ฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร  กรมส่งเสริมการเกษตร (2564)                            ท้องถิ่นกับภารกิจที่ท้าทายหลังวิกฤตโควิด-19


                     องค์การบริหารส่วนตำบลเก่าขาม ได้กำหนดให้มีการตรวจสอบคุณภาพของน้ำที่ชุมชน
               ก่อนที่จะนำมาใช้อุปโภคบริโภค เพราะเห็นความสำคัญของสุขภาวะของประชาชนในระยะยาว
               จึงได้ตรวจสอบตามกระบวน มาตรฐานการผลิตน้ำดื่ม ซึ่งมาตรฐานน้ำบริโภคประเทศไทย

               โดยสำนักสุขาภิบาลอาหารและ น้ำ กรมอนามัย มีการกำหนดมาตรฐานของค่าความเป็นกรดด่าง
               เอาไว้ คือ ต้องอยู่ใน ระหว่างค่า 6.5 - 8.5 ซึ่งเป็นเกณฑ์ตามมาตรฐานองค์การอนามัยโลก

               (WHO) โดยน้ำจากธนาคารน้ำใต้ดินในโครงการดังกล่าวเมื่อผลิตน้ำดื่มออกมาแล้วมีค่า pH
               อยู่ระหว่าง 8.2 - 8.5 ถือว่าผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

               การแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำในชุมชน

                     โครงการธนาคารน้ำใต้ดินแบบพอเพียง สามารถลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม

               ซึ่งตัวชี้วัดสำคัญเห็นได้จากประโยชน์ที่ประชาชนในพื้นที่ คือ ประชาชนได้รับประโยชน์ จำนวน   ส่วนที่   ภารกิจที่ท้าทายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหลังวิกฤตโควิด-19
               13 ชุมชน นั่นคือ ประชาชนจำนวน 7,411 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ชุมชนมีน้ำใช้ อุปโภคบริโภค

               ที่สะอาด ปลอดภัย และทำการเกษตรอย่างเหมาะสมและเท่าเทียมครอบคลุม ทุกชุมชน นอกจากนี้
               ยังออกแบบให้มีการติดตามตรวจสอบสารเคมีตกค้างจากน้ำใต้ดินตั้งแต่ ริเริ่มโครงการจนถึง
               ปัจจุบัน พบว่ามีสารเคมีตกค้างในน้ำน้อยลงจากผลการตรวจสารเคมี ดังนี้ ข้อมูลในปี พ.ศ. 2561

               ผลเสี่ยงจำนวน 398 คน คิดเป็นร้อยละ 50.25 (จากผู้รับการตรวจ 792 คน) ปี พ.ศ.2562
               ผลเสี่ยงจำนวน 342 คิดเป็นร้อยละ 47.77 ปี (จากผู้รับการตรวจ 716 คน) ปี พ.ศ. 2563 ผลเสี่ยง

               จำนวน 371 คน คิดเป็นร้อยละ 32.72 (จากผู้รับการตรวจ 716 คน)







                                                                              สถาบันพระปกเกล้า
   461   462   463   464   465   466   467   468   469   470   471