Page 33 - kpiebook65033
P. 33

32   ตัวชี้วัดหลักนิติธรรม



                                (3.2) หลักความชอบด้วยกฎหมายในทาง

          สารบัญญัติหรือในทางเนื้อหา หลักความชอบด้วยกฎหมายในทาง
          สารบัญญัติหรือในทางเนื้อหานั้น ส่วนใหญ่แล้วเป็น “เกณฑ์” ที่มาจาก
          หลักกฎหมายทั่วไป ซึ่งแตกต่างไปจากหลักความชอบด้วยกฎหมายในทาง

          วิธีสบัญญัติซึ่งมีพื้นฐานมาจากบทบัญญัติของกฎหมาย หลักความชอบ
          ด้วยกฎหมายในทางสารบัญญัติประกอบด้วยหลักที่ส�าคัญ ดังต่อไปนี้

                                ก. การกระท�าทางปกครองจะต้องไม่ขัดแย้ง

          กับกฎหมาย หลักเกณฑ์ในเรื่องนี้เป็นไปตามหลักความมาก่อนของ
          กฎหมาย ซึ่งได้กล่าวรายละเอียดไว้แล้วข้างต้น


                                ข. การกระท�าทางปกครองที่กระทบสิทธิ
          ของประชาชนจะต้องมีกฎหมายให้อ�านาจฝ่ายปกครองกระท�าการได้

          ซึ่งเป็นไปตามหลักเงื่อนไขของกฎหมายหรือหลักไม่มีกฎหมายไม่มีอ�านาจ
          ดังที่ได้กล่าวรายละเอียดไปแล้วข้างต้น


                                ค. การกระท�าทางปกครองต้องไม่มีข้อบกพร่อง
          ในการใช้ดุลพินิจ ข้อบกพร่องของการใช้ดุลพินิจที่จะท�าให้การกระท�า
          ทางปกครองที่มีฐานจากการใช้ดุลพินิจโดยไม่ชอบย่อมเป็นการกระท�า

          ทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย การใช้ดุลพินิจที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
          ได้แก่ ค.1) การใช้ดุลพินิจเกินขอบเขตที่กฎหมายก�าหนด ค.2) การไม่ใช้

          ดุลพินิจ  ค.3) การใช้ดุลพินิจขัดกับวัตถุประสงค์ของกฎหมาย และ
          ค.4) การใช้ดุลพินิจขัดกับหลักสิทธิตามรัฐธรรมนูญหรือหลักกฎหมายทั่วไป

                                ง. การกระท�าทางปกครองจะต้องเป็นไปตาม

          หลักความได้สัดส่วนหรือหลักความพอสมควรแก่เหตุ รายละเอียด
          ของหลักความได้สัดส่วนหรือหลักความพอสมควรแก่เหตุในฐานะที่
          เป็นส�าคัญของหลักกฎหมายทั่วไปในทางกฎหมายมหาชนจะขอกล่าว
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38