Page 28 - kpiebook65033
P. 28
27
(Hartmut Maurer, 1992) คือ (3.1) หลักความชอบด้วยกฎหมายในทาง
วิธีสบัญญัติหรือในทางรูปแบบ และ (3.2) หลักความชอบด้วยกฎหมาย
ในทางสารบัญญัติหรือในทางเนื้อหา
(3.1) หลักความชอบด้วยกฎหมายในทาง
วิธีสบัญญัติหรือในทางรูปแบบ หลักความชอบด้วยกฎหมายในทาง
วิธีสบัญญัติหรือในทางรูปแบบนั้น เป็นการพิจารณาในแง่ของอ�านาจ
หน้าที่ กระบวนการขั้นตอน แบบของการกระท�าและการให้เหตุผลของ
ค�าสั่งทางปกครอง เกณฑ์ในการตรวจสอบดังกล่าวมีการบัญญัติรับรอง
ไว้ในพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ซึ่งในที่นี้
จะได้กล่าวถึงสาระส�าคัญโดยสรุป ดังนี้
ก. อ�านาจหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ ข้อพิจารณา
เกี่ยวกับอ�านาจมีข้อพิจารณา 2 ประการ คือ ก.1) หลักว่าด้วยอ�านาจ
ก.2) หลักความเป็นกลางของเจ้าหน้าที่
ก.1) หลักว่าด้วยอ�านาจ การกระท�าของ
เจ้าหน้าที่จะมีอ�านาจกระท�าการต่อเมื่อมีกฎหมายให้อ�านาจดังที่ได้กล่าว
แล้วข้างต้น ซึ่งการพิจารณาเกี่ยวกับอ�านาจของเจ้าหน้าที่ อาจแยก
พิจารณาออกเป็น การพิจารณาประเด็นเรื่อง “อ�านาจของหน่วยงาน”
มีประเด็นที่ต้องพิจารณา ดังนี้
• อ�านาจในแง่ภารกิจ – เป็นการ
พิจารณาว่าเรื่องนั้นๆ ส่วนงานใด
มีอ�านาจหน้าที่
• อ�านาจในแง่ล�าดับชั้น – เป็นกรณี
ที่มีสายการบังคับบัญชา เป็นการ