Page 86 - kpiebook65022
P. 86

สมัยนายกรัฐมนตรีบรรหาร ศิลปะอาชา แต่ก็ยังไม่มีการใช้ระเบียบนี้จนกระทั่งปี พ.ศ.2548 รัฐบาล
               นายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร มีการแก้ไขยกเลิกฉบับนี้ไปและมีระเบียบใหม่ขึ้นมา ซึ่งไม่ได้ยึดหลักสากล คือ

               ไม่มีกรรมการที่ไม่มีส่วนได้เสียมารับฟัง แล้วก็กลายเป็นแม่แบบให้กับการรับฟังความคิดเห็นอย่างอีไอเอและ
               อีเอชไอเอ การท าเช่นนี้ท าให้คนที่ได้รับผลกระทบแต่ถูกกีดกันออกไปจากการมีส่วนร่วมเดินลงถนนเพื่อชุมนุม
               ประท้วง และถูกจับกุมด าเนินคดี กลายเป็นว่ากระบวนการรับฟังความคิดเห็นเวทีต่าง ๆ ที่รัฐเป็นผู้จัด จัดท า
               ขึ้นโดยมีกติกาของเขาบนพื้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ของเขา ท าให้ประชาชนไม่สามารถมีส่วนร่วมได้อย่าง

               แท้จริง (ผู้ทรงคุณวุฒิ 11 [สัมภาษณ์], 6 พฤษภาคม 2564)

                            กฎหมายบางฉบับที่ออกมาใหม่ในระยะหลังยังมีลักษณะกีดกันการมีส่วนร่วมของประชาชน
               ออกจากสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ เป็นผลสืบเนื่องจากรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2560 เองด้วย ผู้ให้สัมภาษณ์กล่าวว่า สิทธิ
               เสรีภาพของประชาชนถูกน าไปอยู่ในหมวดหน้าที่ของรัฐ เช่น ม.57 เดิมในรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ.2550 หายไป
               หรือกฎหมายของรัฐที่ออกมาใหม่ และท าให้จ ากัดสิทธิและการมีส่วนร่วม เช่น พ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะ ท าให้

               การใช้สิทธิเป็นเรื่องความเสี่ยง แม้การไปยื่นข้อเรียกร้องแล้วถือป้ายก็กลายเป็นการชุมนุม และมีการลงโทษ
               ทางอาญา หรือสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของประชาชนตาม พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารฯ ชาวบ้านยังเข้าถึงได้ยาก
               (ผู้ทรงคุณวุฒิ 1 [สัมภาษณ์], 25 กุมภาพันธ์ 2564) กรณีการฟ้องร้องกลับเมื่อประชาชนมาใช้สิทธิ ที่เรียกว่า

               Slap จนท าให้เกิดความหวาดกลัวในการใช้สิทธิ ก็เป็นหนึ่งในการใช้กฎหมายปิดปากนักกิจกรรมหรือชุมชน
               โดยมีการใช้กฎหมายแพ่งและกฎหมายอาญา ในการฟ้องปิดปากคนที่ลุกขึ้นมาปกป้องทรัพยากรในจ านวนมากขึ้น
               ซึ่งรัฐบอกมีกฎหมายที่สนับสนุนให้เกิดการแสดงออกทางความเห็น แต่อีกด้านหนึ่งกลับน ากฎหมายอีกแบบ
               หนึ่งมากดทับ ท าให้การมีส่วนร่วมตามกฎหมายที่ส่งเสริมแทบจะไร้ความหมาย (ผู้ทรงคุณวุฒิ 1 [สัมภาษณ์],
               25 กุมภาพันธ์ 2564; ผู้ทรงคุณวุฒิ 2 [สัมภาษณ์], 10 กุมภาพันธ์ 2564)


                            นอกจากนี้ กฎหมายบางฉบับยังไม่ส่งเสริมต่อการกระจายอ านาจ ซึ่งท าให้การรับมือกับปัญหา
               สิ่งแวดล้อมด าเนินไปได้ ผู้ให้สัมภาษณ์ยกตัวอย่างการจัดการขยะขององค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง
               พยายามด าเนินการเรื่องน าขยะมาใช้ประโยน์ เช่น ตั้งบริษัทขึ้นมาเพื่อบริหารจัดการโดยเฉพาะให้เกิดการดูแล
               ขยะได้ดี แต่กฎระเบียบที่บังคับใช้อยู่ไม่เปิดโอกาสให้ท าได้ (ผู้ทรงคุณวุฒิ 12 [สัมภาษณ์], 5 พฤษภาคม 2564)

                            ความจริงจังในการด าเนินงานและแก้ไขปัญหา

                            ความจริงจังในการด าเนินงานของหน่วยงานรัฐ เป็นอุปสรรคส าคัญในแง่ของการแก้ไขปัญหาใน
               เชิงระบบ และการน ากฎหมายไปบังคับใช้ ดังผู้ให้สัมภาษณ์กล่าวว่า ในส่วนของการบังคับใช้กฎหมาย

               เป็นเรื่องที่ส าคัญมาก เพราะหากไม่มีการบังคับใช้กฎหมายที่เข้มแข็งก็จะสามารถแก้ไขปัญหา หากเกิดความ
               เสียหาย รัฐต้องใช้อ านาจหน้าที่ที่มีอยู่ทั้งหมด เพื่อที่จะแก้ไขปัญหา เพื่อที่จะเอาผิดกับผู้ที่กระท าผิด เพียงแต่
               หน่วยงานที่รับผิดชอบไม่มีความเอาจริงเอาจังในการด าเนินการ (ผู้ทรงคุณวุฒิ 16 [สัมภาษณ์], 7 พฤษภาคม

               2564)

                            ยกตัวอย่าง การจัดการทรัพยากรน้ า ที่หน่วยงานรัฐยังขาดความจริงจังในการจัดการ ท าให้
               แต่ละภาคส่วนต่างใช้ทรัพยากรน้ าอย่างขาดความระมัดระวัง ดังผู้ให้สัมภาษณ์กล่าวว่า ประเทศไทยไม่มีการ
               จ ากัดสิทธิและหน้าที่ของประชาชนในด้านการใช้น้ า ในฐานะเป็นพลเมืองที่ดีของรัฐ ท าให้ทุกคนอ้างมีสิทธิที่จะ
               ใช้น้ าได้อย่างเสรี เป็นต้นเหตุให้เกิดการใช้น้ าที่ด้อยประสิทธิภาพ (ผู้ทรงคุณวุฒิ 18 [สัมภาษณ์], 31 พฤษภาคม

               2564)






                                                            73
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91