Page 44 - kpiebook65021
P. 44

โครงการการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมแก่ประชาชน:  กรณีศึกษาการพัฒนานโยบายจากภาคประชาชน จังหวัดจันทบุรี





                   ควำมเข้มแข็ง                    รำยละเอียด                               อ้ำงอิง

                                   แสวงหาว่า หน่วยงานหรือที่ใดมีเวทีนโยบาย เพื่อจะ เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (2559);

                                   ได้ไปเข้าร่วมถ้ามีโอกาส                      ถวิลวดี บุรีกุล และคณะ (2563)

                  2. กำรมีส่วนร่วม  รู้ว่า ตนมีหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ ในการร่วมบริหาร นพรัตน์ วงศ์วิทยาพาณิชย์ (2553);
                                   จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (2559);

                                   พิทักษ์ผลประโยชน์ประเทศ                      ทนงศักดิ์ พลอาษา และประเสริฐ
                                                                                ประสมรักษ์ (2562); รัฐธรรมนูญ
                                                                                แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
                                                                                2560


                                   รู้ว่า รัฐมีหน้าที่จัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นจาก ทนงศักดิ์ พลอาษา และประเสริฐ
                                   ประชาชนเพื่อการมีส่วนร่วมในการจัดท านโยบาย   ประสมรักษ์ (2562); รัฐธรรมนูญ
                                                                                แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช

                                                                                2560

                                   ตระหนักดีว่า การมีส่วนร่วมในการท านโยบาย   ถวิลวดี บุรีกุล และคณะ (2557)
                                   ไม่ใช่เกิดจากคนกลุ่มใดกลุ่มเดียว


                                   ตระหนักดีว่า การมีส่วนร่วมในการจัดท านโยบาย ผุสดี สระทอง และคณะ (2563);
                                   เป็นความรับผิดชอบของประชาชนอย่างเรา

                                   ต้องการและพร้อมเข้าร่วมเวทีนโยบายทุกครั้งที่มี เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (2559)

                                   โอกาส

                                   ต้องการและพร้อมเป็นผู้จัด/ร่วมจัดเวทีสาธารณะใน ผุสดี สระทอง และคณะ (2563);
                                   ทุกระดับ                                     ถวิลวดี บุรีกุล และคณะ (2557)




                        อาจกล่าวได้ว่า การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการตัดสินใจทางนโยบายถือเป็นสิ่งจ าเป็น
                 เพราะประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจะได้แสดงปัญหาและความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่รัฐจะท าหรือต้องการจะ

                 ท าว่า บางอย่างอาจก่อให้เกิดผลกระทบทั้งที่ดีและที่ไม่ดีต่อพวกเขา ข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์และน าไปสู่
                 ความชอบธรรมในการตัดสินใจ (Fish et al., 2011)

                        การศึกษาพฤติกรรมความเป็นพลเมืองส าหรับสังคมไทย (ถวิลวดี บุรีกุล และคณะ, 2563, น.xvii-xxi)

                 เป็นตัวแบบการศึกษาที่ใช้กระบวนการแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนานโยบายสาธารณะจากภาคประชาชนที่
                 คณะผู้วิจัยน ามาเป็นหลักในการศึกษาครึ้งนี้ ได้เสนอว่าปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนานโยบายสาธารณะ มีทั้งปัจจัย

                 ภายในและปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน ได้แก่ 1) ความเป็นหุ้นส่วนในการจัดเวที เป็นการเตรียมพร้อมความ




                                                             19
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49