Page 49 - kpiebook65021
P. 49

โครงการการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมแก่ประชาชน:  กรณีศึกษาการพัฒนานโยบายจากภาคประชาชน จังหวัดจันทบุรี





              การมีส่วนร่วมของประชาชน 2) ภาคประชาชน ที่เป็นตัวแทนประชาชนจาก 76 ต าบลใน 10 อ าเภอของ
              จังหวัดจันทบุรีที่มีการรับรู้ต่อสิทธิและการมีส่วนร่วมในการพัฒนานโยบายสาธารณะของจังหวัด

              3) ภาควิชาการ สถาบันพระปกเกล้าและนักวิจัยในพื้นที่ ที่มีความเข้าใจในบริบทพื้นที่และให้การสนับสนุน

                     ทั้งสามภาคส่วนมีบทบาทในตัวแบบเพื่อสร้างความเข้มแข็งด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมในการพัฒนา
              นโยบายจากภาคประชาชนที่แตกต่างกันในแต่ละกระบวนการ ได้แก่ 1) กระบวนการสร้างความเข้าใจ ที่เป็น

              การปรึกษาหารือกันระหว่างภาคส่วนที่เกี่ยวข้องถึงวัตถุประสงค์และกระบวนการพัฒนาตัวแบบ 2)
              กระบวนการรวบรวมความต้องการ ที่เป็นการค้นหาความต้องการ และข้อห่วงกังวลแบบล่างขึ้นบนกระจาย
              ตามต าบลและกลุ่มอาชีพ และ 3) กระบวนการพัฒนาข้อเสนอทิศทาง ที่เป็นการน าผลจากกระบวนการ

              รวบรวมความต้องการมาน าเสนอกับภาคส่วนต่าง ๆ ในพื้นที่ แล้วจัดกิจกรรมการมีส่วนร่วมเพื่อใช้ข้อมูลนั้นใน
              การพัฒนาข้อเสนอทิศทางการพัฒนาจังหวัด การร่วมมือของสามภาคส่วนตามตัวแบบสามกระบวนการ

              ดังกล่าวจะน ามาซึ่งความเข้มแข็งด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมในการพัฒนานโยบายของภาคประชาชนได้ สรุป
              กรอบแนวคิดดังภาพต่อไปนี้




                     หน่วยงานรัฐในพื้นที่
                     - นโยบายและ

                     กฎระเบียบ
                     - มุมมองต่อการพัฒนา
                     นโยบายสาธารณะ
                     - การสนับสนุน

                                                   1) กระบวนการสร้างความ                ความเข้มแข็งด้าน
                     ภาคประชาชน: สิทธิ             เข้าใจ                               สิทธิและการมีส่วน

                     และการมีส่วนร่วม              2) กระบวนการการรวบรวม                ร่วมในการพัฒนา
                     - รับรู้                      ความต้องการ
                     - ตระหนัก                     3) กระบวนการพัฒนา                    นโยบายของภาค
                     - แสดงออก                                                          ประชาชน
                                                   ข้อเสนอทิศทาง

                     องค์กรวิชาการ
                     - ความเข้าใจบริบท
                     พื้นที่
                     - การสนับสนุน


              ภำพ 2.2 กรอบแนวคิดในการวิจัย













                                                          24
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54