Page 70 - kpiebook65017
P. 70

69



                          65
           ของทางราชการ”  จะเห็นได้ว่า บทบัญญัติดังกล่าวประสงค์จะไม่ให้มีการขัดกัน
           ซึ่งผลประโยชน์ ดังนั้น ในการพิจารณาว่าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา

           หรือกรรมาธิการรายอื่นมีส่วนโดยทางอ้อมในการใช้งบประมาณรายจ่ายหรือไม่ จึงต้อง
           มีการพิจารณาด้วยว่ามีการขัดกันแห่งผลประโยชน์ระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์

           ส่วนรวมของผู้ที่มีหน้าที่ในการพิจารณาหรือด�าเนินการในเรื่องนั้น ๆ หรือไม่ ดังนั้น
           หากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือกรรมาธิการเสนอหรือแปรญัตติ

           หรือกระท�าการใด ๆ ในการพิจารณาร่างกฎหมายงบประมาณรายจ่ายแล้วท�าให้ตนได้รับ
           ผลประโยชน์ส่วนตัวจากการใช้งบประมาณย่อมต้องห้ามตามมาตรา 144 วรรคสอง

           ด้วย
              66
                  หากวิเคราะห์แนวค�าวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ผ่านมา ได้แก่ ค�าวินิจฉัย

           ของศาลรัฐธรรมนูญที่ 32/2546 ค�าวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ 14/2551 และ
           ค�าวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ 14/2552 แม้ศาลรัฐธรรมนูญจะไม่ได้ชี้ชัดเรื่อง

           การขัดกันซึ่งผลประโยชน์ในคดีนี้โดยตรง แต่หากพิเคราะห์ถึงเหตุผลที่ศาลระบุใน
           ค�าวินิจฉัยแล้วจะเห็นได้ว่า เป็นการน�าแนวคิดเรื่องการขัดกันซึ่งผลประโยชน์มาปรับใช้ได้

           การที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรด�ารงต�าแหน่งรัฐมนตรีในเวลาเดียวกัน หรือหากกรรมาธิการ
           ด�ารงต�าแหน่งผู้อ�านวยการส�านักงบประมาณในเวลาเดียวกัน แม้เป็นการขัดกันซึ่ง

           ต�าแหน่งหน้าที่แต่ไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่าเป็นการขัดกันซึ่งผลประโยชน์ กล่าวคือ
           ไม่ปรากฏว่าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือกรรมาธิการได้รับผลประโยชน์ส่วนตัว



           65    หนังสือที่ (รธน.) 546/2560 เรื่อง ความมุ่งหมายของมาตรา 144 วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญ
           แห่งราชอาณาจักรไทย ลงวันที่ 8 มิถุนายน 2560.
           66    สุปรียา แก้วละเอียด และคณะ, ‘การพิจารณาวินิจฉัยคดีของศาลรัฐธรรมนูญ ตามบทบัญญัติ
           มาตรา 144 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560’ (2563) ส�านักงาน
           ศาลรัฐธรรมนูญ
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75