Page 68 - kpiebook65017
P. 68

67



           “การกระท�าด้วยประการใด ๆ” นั้น หมายความถึง การกระท�าในท�านองเดียวกับการเสนอ
           และการแปรญัตติ และจ�ากัดเฉพาะการกระท�าที่อยู่ในกระบวนการนิติบัญญัติเท่านั้น



                  (3) กำรตีควำมประเด็นกำรมีส่วนทำงตรงหรือทำงอ้อมในกำรใช้งบประมำณ
           รำยจ่ำย


                      การพิจารณาว่าอย่างไรจึงจะถือว่ามีส่วนในการใช้งบประมาณรายจ่าย
           นั้นจ�าเป็นต้องพิจารณาหลักการทางฎหมายมหาชนและกฎหมายการคลังประกอบด้วย

           กล่าวคือ ตามหลักการแบ่งแยกการใช้อ�านาจอธิปไตยที่เรียกร้องให้มีการแยกองค์กร
                                                                    63
           ผู้ใช้อ�านาจรัฐออกจากกันเพื่อตรวจสอบถ่วงดุลอ�านาจซึ่งกันและกัน  เช่นเดียวกับ
           หลักการในทางกฎหมายการคลัง มีการแบ่งแยกอ�านาจระหว่างผู้มีอ�านาจในการจัดท�า
           งบประมาณ ผู้มีอ�านาจในการอนุมัติงบประมาณ และผู้มีอ�านาจในการบริหารงบประมาณ

           ออกจากกัน โดยฝ่ายบริหารจะเป็นผู้จัดท�างบประมาณและบริหารงบประมาณ ซึ่งก็จะ
           เป็นไปตามหลักการริเริ่มทางการคลังเป็นของฝ่ายบริหาร ในขณะที่ฝ่ายนิติบัญญัติ

           จะเป็นผู้อนุมัติงบประมาณ ซึ่งก็จะเป็นไปตามหลักการห้ามฝ่ายนิติบัญญัติริเริ่มก�าหนด
           รายจ่ายแผ่นดิน หลักความยินยอมในการจ่ายเงินแผ่นดิน และหลักอ�านาจอนุมัติ

           งบประมาณเป็นของรัฐสภา ดังนั้นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา
           จึงมีหน้าที่ในการอนุมัติงบประมาณเท่านั้น จึงไม่ควรมีส่วนในการใช้งบประมาณรายจ่าย

           เพราะผู้ที่มีอ�านาจในการใช้งบประมาณคือฝ่ายบริหาร

                  ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ในระบบกฎหมายของประเทศไทยจึงไม่อนุญาต

           ให้รัฐสภาเป็นผู้ริเริ่มในการจัดท�างบประมาณ เช่น เสนอร่างกฎหมายงบประมาณ
           รายจ่าย หรือเพิ่มเติมรายจ่ายในการพิจารณาร่างกฎหมายงบประมาณซึ่งถือว่า



           63    เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์, หลักพื้นฐานกฎหมายมหาชน (พิมพ์ครั้งที่ 3, วิญญูชน 2558)
           102-104.
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73