Page 50 - kpiebook62002
P. 50

สืบสวนไม่ได้ท าอย่างจริงจังมาเป็นการท างานเชิงรุกโดยมุ่งขยายผลท าลายองค์กรค้ามนุษย์ข้ามชาติโดยใช้

               รูปแบบการวิเคราะห์ข่าวกรองน าการปราบปราม (intelligence-led enforcement model) จ น
               สหรัฐอเมริกาเข้ามาร่วมท างานมากโดยส่งผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยสืบสวนของกระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิ

               (Homeland Security Investigations: HSI) และส านักงานสอบสวนกลาง (Federal Bureau of

               Investigation: FBI) ประจ ากรุงเทพฯ มาร่วมพัฒนาระบบงานและจัดตั้งคณะท างานปราบปรามการล่วง
               ละเมิดทางเพศเด็กต่ออินเทอร์เน็ต (Thailand Internet Crimes Against Children Task Force: TICAC)

                                    4
               ส านักงานต ารวจแห่งชาติ  และสนับสนุนการฝึกอบรมให้กับต ารวจประเทศเพื่อนบ้าน (“จับเข่าคุย ‘มือปราบ
               การค้ามนุษย์’,” 2561)
                              สถิติการด าเนินคดีเองก็เป็นสิ่งที่พิสูจน์ความส าเร็จในการปรับเปลี่ยนการท างานได้ดีขึ้น ตาม

               รายงานผลการด าเนินงานป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของประเทศไทย ประจ าปี 2560 ของกระทรวง

               การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (2561) แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า จ านวนคดีค้ามนุษย์ที่แต่เดิมมี
               มากแต่อัยการไม่สามารถสั่งฟ้องหรือศาลยังไม่พิพากษาลงโทษนั้น เปลี่ยนเป็นคดีที่สั่งฟ้องและศาลพิพากษา

               ลงโทษมากกว่าร้อยละ 90 (น. 21) การพิจารณาคดีในชั้นศาลเป็นไปอย่างรวดเร็วมากขึ้น ร้อยละ 93 ของคดี

               ค้ามนุษย์ที่เข้าสู่การพิจารณาในชั้นศาล ศาลมีค าตัดสินภายในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปีนับแต่วันฟ้อง (น. 25)
               องค์การนอกภาครัฐเปลี่ยนไปให้ความสนใจปัญหาเรื่องแรงงานแทนเรื่องปัญหาเรื่องการค้ามนุษย์ (ธรรมศักดิ์

               วิชชารยะ, สัมภาษณ์, 22 มีนาคม 2562)

                              จากการปรับเปลี่ยนการท างานดังที่กล่าวมาข้างต้นส่งผลให้อันดับของไทยในรายงานการค้า
               มนุษย์ดีขึ้นอย่างชัดเจน โดยในปี 2016 มาอยู่ในระดับกลุ่มที่ 2 บัญชีรายชื่อประเทศที่ต้องจับตามอง ซึ่งเป็นผล

               จากความพยายามแก้กฎหมายของไทยให้มีก าหนดโทษหนักขึ้นและการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ อย่างไรก็

               ตาม ประเด็นเจ้าหน้าที่รัฐยังคงเป็นปัญหาส าคัญที่ต้องแก้ไข (สถานทูตสหรัฐและสถานกงสุลในประเทศไทย,
               2559) ในปี 2018 ไทยถูกปรับอันดับขึ้นมาอยู่ในกลุ่มที่ 2 โดยในรายงานระบุว่า ไทยมี “ความพยายามอย่างมี

               นัยส าคัญ” ซึ่งเป็นผลมาจากการที่รัฐบาลไทย “พยายามมากขึ้นในการด าเนินคดีและพิพากษาลงโทษนักค้า

               มนุษย์จ านวนมากขึ้น และลดระยะเวลาในการด าเนินคดีการค้ามนุษย์โดยใช้หน่วยงานเฉพาะทางด้านการ
               ปราบปรามการค้ามนุษย์” ซึ่งโดยรวมถือเป็นความพยายามบังคับใช้กฎหมายให้ดียิ่งขึ้น (สถานทูตสหรัฐและ

               สถานกงสุลในประเทศไทย, 2561)




               ต่างประเทศสหรัฐในการเตรียมจัดท ารายงานการค้ามนุษย์ในปี 2013 มีจ านวนเพิ่มขึ้นเป็น 46 หน้า ส่วนรายงานปี 2013 เพิ่มเป็น 78 หน้า ส าหรับ
               รายงาน “Thailand’s Trafficking in Persons 2014: Country Report” มีเนื้อหาที่ละเอียดมากขึ้นอย่างชัดเจนมากถึง 164 หน้า รายงานรัฐบาล
               ไทยในปี 2015 ที่มีชื่อว่า “Trafficking in Persons Report 2015: The Royal Thai Government’s Response, 1 January – 31 December
               2015” มีจ านวน 131 หน้า ส่วนรายงานหลังจากนั้น ที่ใช้ชื่อว่า “Thailand’s Country Report on Anti-Human Trafficking Response” มี
               จ านวนหน้าเพิ่มขึ้นไปอีกถึง 194 หน้าในปี 2016 และลดลงเหลือ 63 หน้าในปี 2017 จ านวนหน้าที่เปลี่ยนแปลงไปนี้สอดคล้องกับการที่รัฐบาลไทย
               แสดงถึงความพยายามที่เพิ่มมากขึ้นในการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์จนเริ่มลดความส าคัญในปัจจุบัน ดู Royal Thai Embassy, Washington D.C.,
               Thai Anti-Human Trafficking Action, http://www.thaianti-humantraffickingaction.org
               4   คณะท างานปราบปรามการล่วงละเมิดทางเพศเด็กต่ออินเทอร์เน็ต, ความเป็นมา, สืบค้นจาก http://ticac.police.go.th/ความเป็นมา-2/


                                                           [34]
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55