Page 122 - kpiebook62002
P. 122

ส าหรับการย้ายถิ่นแบบไม่ปกติที่มาทางทะเลนั้น นับตั้งแต่ปี 2007 กองทัพเรือปฏิบัติหน้าที่ในพื้นที่

               ด้านฝั่งทะเลอันดามันได้ตรวจพบการหลบหนีเข้าเมืองและจับกุมชาวโรฮิงญาเป็นจ านวนมากและมีมากขึ้น
               เรื่อยๆ โดยกังวลว่าอาจมีส่วนเกี่ยวพันกับปัญหาสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้

               กองทัพเรือจึงร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่จับกุมชาวโรฮิงญาที่หลบหนีเข้าเมืองพร้อมเรือ และผลักดันออกนอก

               น่านน้ า ในบริเวณจังหวัดระนอง พังงาา และภูเก็ต (บุญชัย มรินทร์พงษ์, 2556) นอกจากนี้ยังจัดตั้งหน่วยงาน
               ใหม่ที่เรียกว่า ศูนย์อ านวยการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล (ศรชล.) ส านักนายกรัฐมนตรี อยู่ภายใต้

               การบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรีที่เป็นผู้อ านวยศูนย์ฯ และผู้บัญชาการทหารเรือเป็นรองผู้อ านวยการ

               ศูนย์ฯ อีกทั้งมีคณะกรรมการบริหารศูนย์อ านวยการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล (คณะกรรมการ
               บริหาร ศรชล.) โดยมีกองทัพเรือเป็นแกนหลัก (ธรรมศักดิ์ วิชชารยะ, สัมภาษณ์, 22 มีนาคม 2562) จัดการ

               การย้ายถิ่นแบบไม่ปกติทางทะเลในกรณีต่างๆ ตามพระราชบัญญัติการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล

               พ.ศ. 2562 ได้แก่
                       -  ภาวะปกติที่เป็นปัญหา เหตุการณ์ สาธารณภัย หรือการกระท าผิดกฎหมายที่กระทบหรืออาจ

                          ส่งผลกระทบต่อผลประโยชน์ของชาติทางทะเลหรือกิจกรรมทางทะเล [มาตรา 27 วรรคสอง, 28

                          (1)]
                       -  ภาวะไม่ปกติอันเนื่องมาจากสถานการณ์ใดๆ ที่กระทบหรืออาจส่งผลกระทบต่อผลประโยชน์ของ

                          ชาติทางทะเลหรือกิจกรรมทางทะเลอย่างกว้างขวางหรือรุนแรง (มาตรา 27 วรรคสาม)

                       -  การกระท าหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่ายานพาหนะ หรือบุคคลในยานพาหนะนั้น ได้กระท าความผิด
                          ตามกฎหมายของประเทศไทยในเขตทางทะเลเกี่ยวกับผลประโยชน์ของชาติทางทะเลหรือ

                          กิจกรรมทางทะเลใดๆ ไม่ว่าจะมีการกระท าความผิดอื่นด้วยหรือไม่ เช่น ยานพาหนะที่ปราศจาก

                          สัญชาติ (มาตรา 30)
                       ผลจากความจริงจังในการปราบปรามหรือสร้าง “ระบอบป้องกัน” (prevention regime) ทั้งการใช้

                                                                                                        12
               กลไกปราบปรามที่มีอยู่เดิม เช่น หน่วยปราบปรามของต ารวจอย่างต ารวจภูธรภาค 7 (ภาคตะวันตก)
                                                                               14
                                            13
               ต ารวจภูธรภาค 8 (ภาคใต้ตอนบน)  และต ารวจภูธรภาค 9 (ภาคใต้ตอนล่าง)  ซึ่งดูแลพื้นที่ที่เป็นเส้นทางการ
               ย้ายถิ่น และการจัดตั้งกลไกใหม่อย่างศูนย์อ านวยการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ส่งผลให้ในช่วงปี
               สองปีนี้การย้ายถิ่นแบบไม่ปกติทางทะเลชะงักงัน ไม่ได้มาเป็นจ านวนเยอะ เรือขนคนผิดกฎหมายหายไป แต่ไม่

               ถึงขั้นยุติลงไปโดยปัญหายังมีอยู่บ้างไม่รุนแรงเท่าเดิม วิธีการเหมือนเดิมแต่เปลี่ยนกลุ่มคน เพราะขณะนี้การ
               ลักลอบน าชาวโรฮิงญาเข้ามาหรือหลอกลวงมาเพื่อฉวยโอกาสค้ามนุษย์ลดน้อยลง แต่เปลี่ยนเป็นการหลอกลวง

               ชาวพม่าพุทธมากขึ้นให้เดินเท้าผ่านย่างกุ้ง เกาะสองเข้ามาทางชายแดนตามเส้นทางที่เชื่อมโยงโลจิสติกส์ของ

               ไทย มีกระบวนการนายหน้าฝั่งพม่าและไทยท างานเชื่อมโยงเป็นรูปแบบเครือข่าย ซึ่งท าให้การสืบสวนขยายผล



               12   รับผิดชอบ 8 จังหวัด ได้แก่ นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม
               13   รับผิดชอบ 7 จังหวัด ได้แก่ กระบี่ ชุมพร นครศรีธรรมราช พังงา ภูเก็ต ระนอง และสุราษฏร์ธานี
               14   รับผิดชอบ 7 จังหวัด ได้แก่ สงขลา สตูล ตรัง พัทลุง ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส


                                                          [106]
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127