Page 77 - b28783_Fulltext
P. 77
ชาวบ้านบางส่วนอยู่ได้เพราะเงินช่วยเหลือจากภาครัฐ (แม้ไม่ทั่วถึง) น าไปใช้หนี้ น าไปลงทุนการ
ผลิตทั้งในปัจเจก หรือกองเงินร่วมกัน ซึ่งเมื่อเงินที่รัฐสนับสนุนหมดลง ก็ยังไม่มีทางออกอื่น ยังรอคอยการ
ช่วยเหลือจากรัฐ
สภาวะโครงสร้างเศรษฐกิจ สังคมที่ตรึงเกษตรกรไว้ ท าให้พบว่า ชุมชนยังไม่ปรับตัวสร้าง
ทางเลือกใหม่ได้มากนัก กล่าวอีกทาง การปรับตัวไม่สามารถเกิดขึ้นจากชุมชนโดยล าพัง ต้องมีการ
เปลี่ยนแปลงทั้งในระดับแนวคิด แบบแผน และโครงสร้าง
5.6 การช่วยเหลือของภาครัฐ
มีคนในชุมชนจ านวนไม่น้อยที่เข้าไม่ถึงการช่วยเหลือของรัฐ เช่น 5 พันบาทของเกษตรกรและ
ผู้ใช้แรงงาน เพราะมีปัญหาการลงทะเบียน แต่ไม่ปรากฏมาตรการช่วยเหลืออย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
อย่างชัดเจน
ชุมชนยังไม่รับรู้ หรือมีส่วนร่วมกับแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมภาวะโควิดของภาครัฐ ข้อเสนอ
หลายประการที่รับรู้ เช่น การหาอาชีพเสริม การส่งเสริมแรงงานให้มาเป็นเกษตรกรรุ่นใหม่ ยังเป็นสิ่งที่
ชาวบ้านเห็นว่าไม่มี
5.7 ข้อเสนอของชุมชนต่อรัฐเพื่อการเปลี่ยนผ่านให้อยู่รอด และสู่ความมั่นคง
และยั่งยืน
5.7.1 ด้านสาธารณสุข
จัดหามาตรการจัดการผู้ลักลอบเข้าพื้นที่โดยเคร่งครัด
ต้องการให้มีตัวบทกฎหมายควบคุมที่ชัดเจนและเจ้าหน้าที่มาช่วยควบคุม
จัดหาหน้ากากอนามัยเพิ่ม เจลแอลกอฮอล์เพิ่ม
อาสาสมัครเป็นกลุ่มเสี่ยงมาก ควรให้งบประมาณในการดูแลปกป้องการติดเชื้อ
5.7.2 ด้านการฟื้นฟูเศรษฐกิจ
ในระยะสั้นให้ต่อเงินช่วยเหลือห้าพันบาทแบบถ้วนหน้า
พักช าระหนี้ ลดราคาสินค้าที่จ าเป็น
จัดหากองทุนโควิดส าหรับหมู่บ้าน โดยให้ชาวบ้านบริหารจัดการกองทุนเอง
สนับสนุนชุมชนจัดการน้ าในไร่นา และสายน้ าให้ยั่งยืน
สนับสนุนปัจจัยการผลิตเพื่อพัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืน เช่น พันธุ์พืช ปุ๋ยชีวภาพ และอื่น ๆ
ประกันราคาสินค้าเกษตรให้ครอบคลุม
จัดหาตลาด (ตลาดท้องถิ่น ตลาดออนไลน์) ให้กับผลิตผลทรัพยากร การเกษตร และ
หัตถกรรมของชุมชน
พัฒนาขนส่งสินค้าผลผลิตให้ชุมชน
ส่งเสริมการท่องเที่ยวพื้นที่เชิงอนุรักษ์
ส่งเสริมความรู้ ทักษะของชุมชนในการบริหารจัดการการผลิต เศรษฐกิจ
5.8 สังเคราะห์บทเรียน
62