Page 76 - b28783_Fulltext
P. 76
ล าดับ ชุมชน ผลกระทบทางเศรษฐกิจ การปรับตัว
ตามปกติแล้วจะร่ ารวยก็ล าบากเพราะคน อนุญาตให้พักหนี้ เกิดตลาดนัดชุมชนและเพจ
ไม่กล้ากู้ กลัวจะช าระคืนไม่ได้ ชาวสวน สาธารณะเช่นของต าบล เปิดเพื่อช่วยให้
ขายผลผลิตไม่ได้ จึงหันมาท าประมงเพื่อ ชาวบ้านขายของได้
กินเองบ้าง ขายถูกๆบ้าง
6 สงขลา ชาวบ้านต้องแยกระยะห่างกันมากขึ้น ปลูกพืชผักสวนครัวเพิ่มขึ้น ท าเกษตรอินทรีย์ไว้
การจับจ่ายใช้สอยน้อยลง เศรษฐกิจแย่ กินเอง และส่งให้โรงเรียนไว้บริโภค เปิดตลาด
แต่ไม่ถึงกับอดอยาก พอมีกินอยู่ได้ใน ชุมชนเกษตรอินทรีย์โดยเกษตรกรขายตรงสู่
ระยะสั้นๆ เกษตรกรที่ปลูกพืชเพื่อ ผู้บริโภค กู้หนี้ยืมสินจากเจ้าหนี้นอกระบบ
การค้ามากกว่าไว้บริโภคเอง ถ้าชุมชน เพราะในระบบเครดิตเต็มแล้ว กลุ่มออมทรัพย์
ไหนมีฐานออมทรัพย์หรือตลาดชุมชนจะ อนุญาตให้ส่งเงินต้นน้อยลงและผ่อนผันหนี้
ได้รับผลกระทบน้อยกว่า ผลผลผลิตข้าว แบบไม่มีค่าปรับ ระบบตลาดชุมชนท้องถิ่น
ไม่กระทบเพราะไม่ตรงฤดูกาล น้ าตาลไม่ เป็นกลไกส าคัญที่ท าให้ชาวบ้านเข้าถึงอาหาร
กระทบเพราะเป็นตลาด niche ผักราคา แลกเปลี่ยนผลผลิตได้ แต่ก็เกิดปรากฏการณ์
ดีขึ้นเพราะผลผลิตออกน้อย ชาวสวน แม่ค้าล้นเกินกว่าคนซื้อในชุมชน ท าให้
มะม่วงและประมงล าบากเพราะราคาตก เศรษฐกิจกระเตื้องได้ยาก
เพราะไม่มีตลาด ต้นทุนการผลิตอย่าง
ราคาเมล็ดพันธ์ ปุ๋ย และสารเคมีเพิ่ม
สูงขึ้น แต่ได้รับผลกระทบน้อยเพราะต้อง
ลดการผลิต
โดยรวมแล้ว สภาวะการปรับตัวของชาวบ้านยังเป็นไปอย่างจ ากัด ด้วยการลดค่าใช้จ่าย หันมาพึ่ง
ความมั่นคงอาหารในครัวเรือนและชุมชน บางครัวเรือนไม่กู้หนี้เพิ่มเพราะไม่มีก าลังจะจ่ายลงทุน การ
หาทางอาชีพเสริมเป็นไปได้จ ากัด เพราะชุมชนได้ทดลองมาหลายอย่าง แต่ไม่มีตลาด ทุน และความรู้ทักษะ
รองรับที่ชัดเจน
เงื่อนไขการปรับตัวอยู่ที่ความพร้อมของชุมชน ชุมชนที่มีฐานทรัพยากรเป็นหลังอิง ยังพอมีความ
มั่นคงอาหารที่ไม่ผ่านตลาดได้ ชุมชนที่มีกลุ่มออมทรัพย์เข้มแข็ง (กรณีสงขลา ภูเก็ต) ระบบการเงินชุมชนยัง
ช่วยเหลือชุมชนได้ดี สมาชิกยังมีวินัยทางการเงินอยู่ ชุมชนที่ฐานเศรษฐกิจหลากหลาย (บริโภค ขายในภา
คนเกษตร และฐานเศรษฐกิจนอกภาคเกษตร) ยังกระจายความเสี่ยงไปได้
ชุมชนที่ใกล้กับเมืองหรือเป็นเมืองมากทางเลือกนอกกลไกตลาด (สินค้า แรงงาน ฯลฯ) มีจ ากัด
ชุมชนพึ่งเกษตรพาณิชย์ (ขาดฐานทรัพยากร ผลิตเพื่อบริโภค กลไกตลาดท้องถิ่น) ทางเลือกปรับตัวจ ากัด
การด าเนินการของรัฐ เช่น ธกส. ที่มีโปรโมชั่นเงินกู้ก่อนโควิด กลับท าให้ชาวบ้านประสบปัญหา
หนี้สินเป็นทุนเดิม เมื่อเผชิญวิกฤติโควิดจึงประสบปัญหารุนแรงขึ้น
เกษตรกรจ านวนมากที่ถูกตรึงในระบบพืชเศรษฐกิจ เช่น ข้าวโพด ปาล์ม ยาง มัน ฯลฯ การ
ปรับตัวท าได้ยาก เพราะชาวบ้านผูกติดกับระบบข้อตกลง หนี้สิน ฯลฯ การถอยห่าง หรือออกจาก
โครงสร้างเหล่านี้ท าได้ยาก
61