Page 75 - b28783_Fulltext
P. 75

ผลกระทบทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นท าให้ชุมชนจ าเป็นต้องตั้งรับและปรับตัวเพื่อลดผลกระทบและหา
                  ช่องทางใหม่ในการท ามาหากินและปรับปรุงการผลิต การตลาด สินค้าชุมชน แหล่งทุนส าหรับอาชีพและ

                  ครอบครัว สามารถที่จะสรุปออกมาได้ตามตารางข้างล่างนี้

                  ตารางที่ 28 แสดงผลกระทบทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นและปรับตัวของชุมชนต่าง ๆ
                 ล าดับ   ชุมชน            ผลกระทบทางเศรษฐกิจ                          การปรับตัว

                   1    น่าน        รายได้ลดลงกว่า 60% พ่อค้าเข้ามารับ  ประหยัดเงินมากขึ้น ปลูกผักบ้าง และ stock
                                    ซื้อผลไม้ไม่ได้ แม้ภายหลังผ่อนคลายขาย อาหาร กู้เงินจากกลุ่มออมทรัพย์และเถ้าแก่
                                    ผลผลิต แต่ราคาลดลงกว่าครึ่ง         ข้าวโพด หาอาชีพเสริม อ านวยความสะดวกให้

                                    ผลกระทบต่อความมั่นคงอาหารไม่มาก     พ่อค้าเข้ามารับซื้อผลผลิตจากชุมชน
                                    นัก แต่กระทบรายได้ที่เป็นตัวเงิน เช่น
                                    ค่าแรงa
                   2    น้ าชี      เป็นช่วงที่ยังไม่เก็บเกี่ยวพอดีเลยไม่ค่อย  ประหยัดเงินเป็นหลัก แต่ก็ไม่สามารถช่วยได้

                        มหาสารคาม  เดือดร้อน ส่วนปลาเลี้ยงไม่ได้แล้วเพราะ มากนักเพราะปกติก็กินน้อยใช้น้อยอยู่แล้ว หนี้
                                    ภัยแล้งยังไม่มีปัญหาขาดแคลนแรงงาน   ครัวเรือนประมาณ 50,000 บาทต่อครอบครัว
                                    เพราะคนท้องถิ่นท างานกันเองทั้งหมดจึง และไม่ได้กู้เพิ่มเพราะไม่มีใครสามารถให้ยืมเงิน
                                    ไม่ล าบาก                           กันได้ และไม่อยากสร้างหนี้ใหม่

                   3    ริมน้ าโขง   ยังพออยู่พอกินได้ ไม่เดือดร้อนปากท้อง  ท าปลาร้าไว้กิน เลี้ยงวัวควาย ท าผ้าย้อมคราม
                                    มากนัก แต่รายได้หดหายมากโดยเฉพาะ
                                    ภาคท่องเที่ยวรายได้ลดลง ตามปกติหา
                                    ปลาในโขง ท าปลาร้าขายนักท่องเที่ยว

                                    แต่พอมีโควิดก็ขายไม่ได้ เดือดร้อน
                                    แรงงานเพราะแรงงานลาวที่จ้างวันละ
                                    200 บาทเดินทางไม่ได้ ต้องจ้างคนไทย

                                    วันละ 300 บาทบวกค่าอาหารท าให้
                                    ต้นทุนเพิ่ม
                   4    ฉะเชิงเทรา  การไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันท าให้  ลดรายจ่าย และ ปลูกผักสวนครัวกิน หันมา
                                    เกิดผลกระทบกับเศรษฐกิจและวิถีชุมชน  รับจ้าง เช่นถางหญ้า เก็บสับปะรด ปลูกพืช

                                    ไม่มีการจ้างงาน นาข้าวไม่ได้รับ     สวนผสมไม่ค่อยได้เพราะมีข้อจ ากัดด้านพื้นที่
                                    ผลกระทบ แต่ยางพาราและผักผลไม้       สหกรณ์ออมทรัพย์ช่วยไม่ได้มากเพราะการ
                                    ราคาตก ผักผลไม้ขายไม่ได้เพราะพ่อค้า  ออมไม่พอจ านวนสมาชิก และเบิกถอนไม่ได้
                                    เข้าพื้นที่ไม่ได้ ราคาอาหารไม่ได้ขึ้น  หนี้สินเพิ่มไม่มาก

                                    มากมายจนเดือดร้อน
                   5    ภูเก็ต-พังงา  กลุ่มประมงกลับมาท าประมงเพราะไม่มี  ประหยัดเงิน ปลูกผักสวนครัวกินเองเกือบทุก
                                    การท่องเที่ยว เกิดหนี้ก้อนโต จากการ  บ้าน และท าประมงเป็นอาหารไว้กินเอง เพราะ
                                    ลงทุนเพื่อเตรียมรับ High Season เช่น  ขายไม่ค่อยได้ เจรจาผ่อนผันหนี้สินและไม่สร้าง

                                    ซื้อรถตู้ แต่พอเกิดโควิดก็ท าให้เป็น  หนี้เพิ่ม กู้จากออมทรัพย์ เพราะได้ลดหย่อน
                                    หนี้สินก้อนโต แม้แต่เจ้าหนี้นอกระบบที่  ดอกเบี้ย เพื่อเอาไปจ่ายหนี้นอกระบบ แต่ไม่


                                                                                                       60
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80