Page 22 - kpi23788
P. 22

Conflict Mapping Thailand phase 5
                                                                                                              12



                  ได้รับการตอบสนองความจ าเป็นขั้นพื้นฐานความขัดแย้งก็จะไม่เกิด หรืออีกนัยยะหนึ่งคือ เมื่อประเด็นปัญหาถูกแก้ไข
                  ได้ถูกจุดจะสามารถจัดการกับความขัดแย้งได้

                                    3) กระบวนทัศน์สามชั้น ใช้ในการจัดแยกประเภทความขัดแย้งระหว่างภาคีต่าง ๆ ได้แก่
                  การประเมิน ความรู้ความเข้าใจ และอารมณ์ ซึ่งใช้ในการมองประเด็นนความขัดแย้งของภาคีต่าง ๆ เช่น
                  ระดับความรู้ความเข้าใจสะท้อนความเชื่อ ระดับการประเมินสะท้อนคุณค่า ระดับประสิทธิภาพ ระดับอารมณ์
                  สะท้อนความรู้สึก
                                    4) สถานการณ์ - ทัศนคติ – พฤติกรรม 3 ส่วนนี้ใช้ในการวิเคราะห์และสร้างกรอบในการ

                  ท าความเข้าใจประเด็นของภาคี ทัศนคติถูกหล่อหลอมมาจากวัฒนธรรมและปรากฏออกมาเป็นพฤติกรรมและส่งผล
                  ประทบต่อสถานการณ์ ส่วนพฤติกรรมในสถานการณ์ความขัดแย้งมาจากพฤติกรรมระหว่างภาคีต่าง ๆ แน่นอนว่า
                  ต้องรวมเอาบริบททางวัฒนธรรม ได้แก่ เพศสภาพ ชนชั้นทางสังคมเศรษฐกิจ และชาติพันธุ์

                                    5) รูปแบบคู่ความขัดแย้งสุดขั้ว (Diametric) รูปแบบแรก คือ ชนะ-ชนะ หรือ ชนะ-แพ้
                  ส่วนใหญ่คู่ความขัดแย้งมักจะมองแบบแพ้-ชนะ ส่วนรูปแบบที่สอง คือ การรักษาสถานภาพและการเปลี่ยนแปลง
                  สถานภาพ
                                    6) การถอดรหัสการสื่อสาร คือ การอ่านเพื่อให้เข้าใจความหมายที่ซ่อนอยู่ เมื่อภาคีต่าง ๆ

                  สะท้อนประเด็นและความปรารถนาออกมาก็ไม่ได้หมายความว่าจะตรงความหมายตามลายลักษณ์อักษรหรือค าพูด
                  อย่างสมบูรณ์ การวิเคราะห์จะต้องอาศัยการศึกษาเชิงลึกเพื่อเข้าใจบริบทของความขัดแย้งและถอดรหัสออกมาให้ได้
                                    7) การก าหนดระดับและระบุต าแหน่ง เมื่อภาคีต่าง ๆ ระบุประเด็นปัญหาและข้อมูลได้แล้ว
                  ข้อมูลเหล่านั้นจะต้องมาระบุระดับของความขัดแย้ง โดยใช้บริบทความขัดแย้ง 4 ระดับ คือ ปัจเจกบุคคล สังคม

                  ระหว่างประเทศ โลก/ระบบนิเวศ เพื่อให้เข้าใจว่าการคลี่คลายความขัดแย้งจะมีทิศทางไปอย่างไร
                             5. พลวัตรของความขัดแย้ง ท าให้เข้าใจการกระท า ปฏิกิริยา และสถานการณ์ ของภาคีต่าง ๆ เพื่อจะ
                  ได้วางยุทธศาสตร์ในการคลี่คลายความขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
                             5.1 ลักษณะของพฤติกรรม คือ ปัจจัยหลักของการท าความเข้าใจการกระท าของภาคีความขัดแย้งต่าง

                  ๆ เพื่อดูว่าภาคีมีพฤติกรรมและตอบสนองต่อความขัดแย้งอย่างไร
                                     1) รูปแบบความขัดแย้ง มี 5 แบบ มีตั้งแต่ การแข่งขัน ความร่วมมือ การประณีประนอม
                  การหลีกเลี่ยง ที่พัก และห่วงใยคนอื่น มิติแรกคือห่วงใยตัวเองและห่วงใยคนอื่น มิติที่สองคือ หลีกเลี่ยงและแข่งขันอยู่
                  ตรงข้ามความขัดแย้ง

                                        - การหลีกเลี่ยง เป็นพฤติกรรมที่ซ่อนและปฏิเสธความขัดแย้ง
                                        - การแข่งขัน เป็นพฤติกรรมที่ใช้ก าลังในการเปลี่ยนสถานะและมุ่งสู่ปรากฎการณ์แพ้-ชนะ
                                        อีก 3 แบบ ที่เหลืออยู่ในสถานะที่ท าให้เกิดความเสียหายน้อยและยังมีความปรารถนาที่จะ
                  ท างานร่วมกับคู่ความขัดแย้งเพื่อหาทางออกร่วมกัน คือ ความร่วมมือ เพื่อหาทางที่จะ ชนะ-ชนะ ไปด้วยกัน

                                    2) มุมมองในระดับโลก แบ่งเป็น 2 แบบ คือ การเมืองที่แท้จริง กับ การเมืองแบบอุดมคติ
                  การเมืองที่แท้จริงส่วนมากจะน าเสนอมิติการแข่งขัน และมีมุมมองในด้านลบต่อธรรมชาติของมนุษย์ ส่วนการเมือง
                  แบบอุดมคติมักจะมองมนุษย์ในแง่ดีเมื่อพิจารณาธรรมชาติของมนุษย์และพร้อมที่จะมีกระบวนการมีส่วนร่วม





                                                                -12-
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27