Page 25 - kpi23788
P. 25
Conflict Mapping Thailand phase 5
15
องค์ประกอบที่ควรน ามาวิเคราะห์ในการจัดการความขัดแย้ง
1) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder) กับคู่กรณี (Party)
2) ประเด็นขัดแย้ง (Issues in conflict) ไม่ว่าจะเป็นประเด็นผลประโยชน์ (Issues of Interests)
และประเด็นคุณค่า (Issues of Value)
3) ประเภท/เหตุปัจจัยของความขัดแย้ง มีหลากหลายปัจจัยและแบ่งปัจจัยได้หลายแบบ
4) มุมมอง (Perception) และทัศนคติระหว่างกัน มุมมองและทัศนคติระหว่างกันสามารถเป็นได้ทั้ง
มุมมองด้านบวกและมุมมองด้านลบ แต่ความรุนแรงที่เกิดขึ้นมีแนวโน้มว่าคู่กรณีมักจะมีมุมมองด้านลบต่อคู่กรณีและ
เป็นมุมมองแบบประทับตรา (Stereotypes) ซึ่งท าให้เกิดการแบ่งแยกเป็นพวกเขาพวกเราอย่างชัดเจน
5) ความสัมพันธ์ (Relationship) และความไว้วางใจ (Trust) ระหว่างกัน ถ้าความสัมพันธ์ระหว่าง
คู่กรณีดี ปัญหาความขัดแย้งมักจะไม่ค่อยเกิดขึ้น และหรือเมื่อเกิดขึ้นแล้วการแก้ปัญหาก็จะท าได้ง่ายกว่า
หากความสัมพันธ์ไม่ดีก็จ าเป็นต้องฟื้นความสัมพันธ์ขึ้นมาใหม่ และความสัมพันธ์จะดีหรือไม่ดีก็อยู่ที่ความไว้วางใจ
หรือความไม่ไว้วางใจ
6) พฤติกรรมที่กระท าต่อกัน/พลวัตของความขัดแย้งพฤติกรรมความขัดแย้ง ซึ่งไม่ได้ หมายถึง
ความรุนแรงทางกายภาพเท่านั้น รวมถึงการข่มขู่ การตักเตือน การโน้มน้าวชักจูง การบังคับและการให้รางวัล
ความขัดแย้งมีพลวัตทั้งการขยายและลดความขัดแย้งลงไป
7) อ านาจ (Power) การจะเข้าใจและวิเคราะห์ความขัดแย้งได้อย่างถูกต้องมากขึ้น จ าเป็นอย่างยิ่งใน
การวิเคราะห์ถึงมิติเรื่องอ านาจ (Boulding, 1999, p. 20) อธิบายถึงอ านาจว่าแบ่งได้เป็น 3 แบบ คือ อ านาจบังคับ
(Threat Power) อ านาจจากการแลกเปลี่ยน (Exchange Power) และอ านาจร่วม (Integrative Power) อ านาจ
บังคับเป็นอ านาจที่เกิดจากการบีบบังคับ การสั่งให้ท าตาม เช่น ให้ท าตามสิ่งที่เราต้องการ อ านาจแลกเปลี่ยน
เป็นอ านาจจากการต่อรอง เช่น ถ้าคุณท าสิ่งที่เราต้องการ เราก็จะท าตามสิ่งที่คุณต้องการ อ านาจร่วมเกิดจาก
การโน้มน้าว ซึ่งท าให้แก้ปัญหาได้ในระยะยาว เช่น พวกเราสามารถร่วมกันท าสิ่งที่จะดีกว่าส าหรับพวกเรา
8) การวิเคราะห์จุดยืน (Position) และจุดสนใจ (Interest) ของคู่ขัดแย้ง การวิเคราะห์จุดยืนและ
จุดสนใจ (ความต้องการ) ของคู่ขัดแย้ง เพื่อเข้าใจถึงความต้องการที่แท้จริงว่ามีความต้องการที่จะได้อะไร และมีความ
ห่วง ความกังวลอะไรอยู่ในใจ
9) ความเป็นไปได้ในการจัดการความขัดแย้ง คู่กรณีเห็นว่า การให้ความขัดแย้งด ารงอยู่มีความ
สูญเสียมากกว่าก่อให้เกิดประโยชน์
10) สถานการณ์ที่เหมาะสมในการเจรจา การที่คู่กรณีพร้อมที่จะให้มีการจัดการความขัดแย้งด้วยการ
เจรจาหรือการไกล่เกลี่ยคนกลาง เมื่อคู่กรณีตระหนักว่าสถานการณ์สุกงอม (Ripeness) กล่าวคือ ไม่สามารถเอาชนะ
ซึ่งกันและกันได้ด้วยวิธีการใช้ความรุนแรงอีกต่อไป (Mutually Hurting Stalemate (MHS) และต้นทุนของการ
-15-