Page 21 - kpi23788
P. 21

Conflict Mapping Thailand phase 5
                                                                                                              11



                             3) อ านาจและ/หรือทรัพยากร หมายถึง ผลผลิตของความสัมพันธ์ระหว่างภาคีต่าง ๆ อ านาจจะมีมาก
                  หรือน้อยขึ้นอยู่กับว่าใครเป็นผู้ครอบครองอ านาจ และหน่วยของอ านาจ หน่วยของอ านาจเป็นทรัพยากรที่มี

                  ความส าคัญมาก เพราะถ้าหน่วยของอ านาจไม่เท่ากันก็น าไปสู่ความขัดแย้ง อ านาจประกอบด้วยการเชื่อมโยงระหว่าง
                  การควบคุมทรัพยากร ทักษะการสื่อสาร หรือความเชี่ยวชาญ ความเข้าใจการเข้าถึงอ านาจของแต่ละฝ่ายต้อง
                  วิเคราะหน่วยของอ านาจเมื่อจะออกแบบแนวทางในการคลี่คลาย หรือเปลี่ยนรูปแบบความขัดแย้ง การกระจาย
                  อ านาจจึงเป็นสิ่งจ าเป็นและส าคัญ


                             4. การค้นหาจุดเริ่มต้นของความขัดแย้ง
                             จุดเริ่มต้นความขัดแย้งที่ต้องค้นหา จะต้องประกอบไปด้วย การระบุปัญหา วัตถุประสงค์ของ
                  ความขัดแย้งจากทุกภาคี และก าหนดต าแหน่งแห่งที่ของประเด็นที่พบภายใต้บริบทของความขัดแย้ง โดยใช้ทฤษฎี

                  และแบบจ าลองที่มีอยู่ เพื่อระบุให้ได้ว่าประเด็นอยู่ที่ไหน
                             4.1 การพิจารณาประเด็นและวัตถุประสงค์
                                     1) วงจรแห่งความขัดแย้ง น าเสนอโดย Moore (2014) กล่าวถึงวงจรของความขัดแย้งไว้ว่า
                  ประกอบไปด้วย ข้อมูล ความสัมพันธ์ เชิงโครงสร้าง คุณค่า และผลประโยชน์



























                             ภาพ วงจรความขัดแย้ง โดย Moore (2014)


                             โมเดลวงจรความขัดแย้งของ Moore (2014) ท าให้ความขัดแย้งเข้าใจได้ง่ายขึ้น แต่เมื่อน าไปใช้ในการ
                  วิเคราะห์ความขัดแย้งอาจจะแตกต่างจากโมเดลนี้ แต่จากโมเดลของ Moore ท าให้เห็นว่าความขัดแย้งบางอย่างยาก

                  ที่จะแก้ปัญหา โครงสร้างของความขัดแย้งและคุณค่ายากที่จะแก้ไขเนื่องจากการต่อรอง และการประณีประนอมมี
                  จ ากัด และที่จะเข้าไปเปลี่ยนแปลง ส่วนความขัดแย้งอื่น ๆ ได้แก่ ความสัมพันธ์ ข้อมูล ผลประโยชน์ แก้ไขปัญหาได้
                  โดยการต่อรอง ความร่วมมือ และการประณีประนอม

                                    2) ความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์ มาจากความสามารถในการการระบุความขัดแย้งของ
                  ภาคีต่าง ๆ ใช้ทฤษฎีพื้นฐานความต้องการของมนุษย์ในการวิเคราะห์ความขัดแย้ง เพราะมีสมมติฐานว่าเมื่อมนุษย์


                                                                -11-
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26