Page 17 - kpi23788
P. 17

Conflict Mapping Thailand phase 5
                                                                                                              7



                  ขัดแย้งทางการเมือง 2) มิติความขัดแย้งทางเศรษฐกิจ 3) มิติความขัดแย้งทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
                  4) มิติความขัดแย้งด้านชาติพันธุ์ ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5) มิติความขัดแย้งอื่น ๆ

                             การออกแบบแผนที่ความขัดแย้งประกอบด้วย 6 องค์กระกอบหลักที่ส าคัญ เพื่อใช้เป็นกรอบใน
                  การส ารวจประเด็นความขัดแย้งจากการด าเนินโครงการตามแนวนโยบายของรัฐใน 5 มิติที่กล่าวไว้แล้วเบื้องต้น
                  มีดังนี้
                             1. ประวัติศาสตร์ความขัดแย้ง เป็นจุดเริ่มต้นของการท าความเข้าใจความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจาก

                  โครงการของรัฐที่จะต้องถูกน ามาใช้ในการวิเคราะห์เพื่อจัดท าแผนที่ความขัดแย้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสัมพันธ์
                  ใน 2 รูปแบบ คือ ความสัมพันธ์แบบต่อเนื่อง และความสัมพันธ์ในอดีตระหว่างภาคีต่าง ๆ

                             1) ความสัมพันธ์แบบต่อเนื่อง ถ้าคู่ความขัดแย้งมีประวัติศาสตร์ร่วมกัน 5 ขั้นตอน ตั้งแต่ระดับความ
                  ร่วมมือจนถึงระดับวิกฤติ ดังนี้
                                1.1) ความร่วมมือ

                                1.2) การแข่งขัน
                                1.3) ความตึงเครียด

                                1.4) ความขัดแย้ง
                                1.5) ขั้นวิกฤติ

                             2) ความสัมพันธ์ในอดีตระหว่างภาคีต่าง ๆ แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ
                                2.1) เหตุการณ์ส าคัญ
                                2.2) พลังงาน / ทรัพยากร

                                2.3) ผลทางจิตวิทยา
                             ความสัมพันธ์ของคู่ความขัดแย้งระหว่างโครงการของรัฐกับหน่วยทางสังคมต่าง ๆ ในอดีต
                  อาจมีการเคลื่อนไหวไปมาใน 5 ขั้นตอน ตั้งแต่ความร่วมมือจนไปถึงขั้นวิกฤติ


                              ร่วมมือ             แข่งขัน            ความ               ความ               ขั้น
                                                          ตึงเครียด          ขัดแย้ง           วิกฤติ



                             คู่ความขัดแย้งมีความสัมพันธ์เริ่มตั้งแต่การให้ความร่วมมือแต่ไม่ถึงขั้นวิกฤติ หรืออาจจะมีความสัมพันธ์

                  น าไปสู่ขั้นวิกฤติได้หลายต่อหลายครั้งตั้งแต่ในอดีต อาจกินเวลาระยะสั้นจนกระทั่งหลายปี ผู้ศึกษาจะต้องสกัดท าให้
                  เกิดเป็นองค์ความรู้ขึ้นมา เพื่อท าความเข้าใจกับรูปแบบความสัมพันธ์ของคู่ความขัดแย้งเหล่านั้น
                  เพราะประวัติศาสตร์ของความขัดแย้งที่เคยเกิดขึ้นในอดีต อาจส่งผลถึงความสัมพันธ์ ณ ปัจจุบัน และยาวนานถึง

                  อนาคต ดังนั้นจึงต้องบรรจุประสบการณ์ความขัดแย้งลงในแผนที่ความขัดแย้ง อีกนัยหนึ่งคือ ทั้ง 5 ขั้นตอนเหล่านี้
                  ถ้ามีความขัดแย้งเกิดขึ้นในอดีตจะช่วยท าให้เข้าใจว่าท าไมความขัดแย้งที่เกิด ณ ปัจจุบัน จึงไม่สามารถแก้ไขได้ นั้น
                  เป็นเพราะอิทธิพลของความขัดแย้งในอดีตที่ส่งผลถึงทุกวันนี้ โดยเฉพาะส่งผลต่อสภาพจิตใจ ในมิติทางด้านจิตวิทยา
                  อดีตของคู่ความขัดแย้งข้างใดข้างหนึ่งอาจรู้สึกว่าตัวเองเป็นเหยื่อหรือไม่ได้รับความช่วยเหลือจนก่อให้เกิดเป็นแผลใจ


                                                                 -7-
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22