Page 14 - kpi23788
P. 14

Conflict Mapping Thailand phase 5
                                                                                                              4



                             3.3 สถาบันพระปกเกล้าสามารถน าข้อมูลแผนที่ความขัดแย้งแบบอิเล็กทรอนิกส์เสนอต่อผู้ก าหนด
                  นโยบายให้ได้ใช้เพื่อการตัดสินใจแปรเปลี่ยนความขัดแย้งรุนแรงในเชิงสร้างสรรค์ น าไปสู่การสร้างสันติภาพ

                  ตามกรอบแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน
                             3.4 ผู้ก าหนดนโยบายระดับสูงในประเทศไทย สามารถใช้ระบบเตือนภัยความขัดแย้งรุนแรง ในการ
                  ตัดสินใจปฏิบัติการระงับ ลด หรือแปรเปลี่ยนความขัดแย้งได้อย่างทันท่วงที

                             4. กลุ่มเป้าหมาย

                             องค์กรภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรเอกชนและองค์กรภาคประชาสังคม

                             5. รายละเอียดขอบเขตการด าเนินงานโครงการ

                             5.1 ประเด็นการศึกษาวิจัย
                             5.1.1 แผนที่ความขัดแย้งของสถาบันพระปกเกล้าจะต้องแสดงให้เห็นการวิเคราะห์สถานการณ์
                  ความขัดแย้ง สามารถด าเนินการได้ทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ โดยปรับใช้แนวทางของ GPI ในปี 2017 GPI

                  ก าหนดให้มี 23 ตัวชี้วัด ใส่หน่วยรหัสเป็นค่าตัวเลข เช่น ล าดับขั้นตั้งแต่ 1-5 จ านวนร้อยละ จ านวนครั้งที่เกิด
                  ความขัดแย้ง จ านวนผู้เสียชีวิต ตัวเลขของกองก าลังทหาร จ านวนผู้ถืออาวุธ เปอร์เซ็นต์ของงบประมาณรายจ่าย
                  ส าหรับประเทศที่ให้งบประมาณในการสร้างสันติภาพ จนถึงหน่วยวัดมาตราส่วนในเชิงคุณภาพ โดยตัวชี้วัดแต่ละ

                  หน่วยมาจากแหล่งข้อมูลที่แตกต่างกัน แผนที่ความขัดแย้งของสถาบันพระปกเกล้าจะต้องแสดงให้เห็น ประเด็นและ
                  ตัวชี้วัดต่าง ๆ
                             5.1.2 การออกแบบFrameworkการเฝ้าระวังความขัดแย้ง  เฝ้าระวังสถานการณ์ความขัดแย้ง
                  (monitoring conflict situations) มีหลายวิธีการที่จะเฝ้าระวังข้อมูล ให้ครอบคลุมความต้องการข้อมูลและเพื่อให้

                  ได้ข้อมูลล่าสุดที่ตรงกับความสนใจ เพื่อน าไปสู่การสร้างระบบการเตือนภัยจากฐานข้อมูลที่มี ดังนั้นการเฝ้าระวัง
                  สถานการณ์ความขัดแย้งจึงอยู่ที่การควบคุมความรู้ความเข้าใจ โดยการตรวจจับความขัดแย้งในการประมวลผลข้อมูล
                  และการส่งสัญญาณเมื่อต้องการการควบคุมจากบนลงล่าง หน้าที่ต่อเนื่องที่ใช้การรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ
                  มาจากตัวชี้วัดที่ก าหนด ประกอบกับสถานการณ์ที่เป็นทันสมัย ทั้งนี้กระบวนการในการรวบรวมข้อมูลยังหมายรวมถึง

                  การพัฒนารูปแบบในการน าเสนอและการปรับปรุงตามเวลาจริง และการตรวจสอบข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ
                  มีความยืดหยุ่น ปรับให้เข้ากับบริบท โดยเฉพาะอย่างยิ่งเท่าทันการเปลี่ยนแปลงในสถานการณ์ความขัดแย้งและ
                  ความรุนแรงที่ซับซ้อนและผันผวน
                             •  การเฝ้าระวังและการประเมินความขัดแย้ง

                             •  การเฝ้าระวังและการประเมิน ไม่ว่าจะเป็นกระบวนการในการลดผลกระทบเชิงลบต่อ
                  ความขัดแย้ง บริบท และหน้าที่
                             •  การติดตามและการประเมินผลของความขัดแย้งต่อการแทรกแซง

                             •  การติดตามและการประเมินผลของการแทรกแซงความขัดแย้ง

                               เพื่อจัดท าฐานข้อมูลส าหรับแจ้งเตือน (warning system) ให้กับสังคมไทยและเสนอแนะแนวทาง
                  เบื้องต้นเพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง เช่นตัวอย่างรูปแบบการแจ้งเตือนจาก Website ของประเทศออสเตรเลีย
                  ชื่อ smartraveller.go.au ในเว็ปไซต์นี้รัฐบาลออสเตรเลียใช้สี 4 สี คือ แดง ส้ม เหลือง และเขียว เพื่อให้ง่ายต่อการ


                                                                 -4-
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19