Page 24 - kpi23788
P. 24

Conflict Mapping Thailand phase 5
                                                                                                              14



                                    5) ประเภทของสันติภาพ มี 2 แบบ คือ สันติภาพในทางบวกและสันติภาพในทางลบ สันติภาพ
                  ในทางลบคือการใช้ก าลังและความรุนแรงในการให้ได้มาซึ่งสันติภาพ ส่วนสันติภาพในทางบวกคือ การเข้าใจรากเหง้า

                  ของปัญหาความขัดแย้ง
                                    6) เวลาและล าดับ จะเป็นส่วนที่ต้องมีการเขียนใหม่อย่างต่อเนื่องและตลอดเวลา เพราะจะท า
                  ให้เข้าใจความซับซ้อนของความขัดแย้งที่มีมากมายหลากหลาย จากระดับที่แตกต่างกันหรือต่างชนัดกัน
                             6.3 ประเภทของการแทรกแซง ผลลัพธ์ และระดับ
                                    1) การป้องกัน

                                    2) การจัดการ
                                    3) ถิ่นที่ตั้ง
                                    4) ทางออก

                                    5) การเปลี่ยนแปลง
                             6.4 เวที
                             6.5 บทบาทของผู้แทรกแซง
                             6.6 กิจกรรม

                             6.7 ทักษะ
                             6.8 การประเมินผล

                             2.2 แนวคิดเรื่องการบริหารจัดการพื้นที่เศรษฐกิจแบบสันติสุข

                             ก่อนที่จะด าเนินการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง หากมีการวิเคราะห์ความขัดแย้งอย่างเป็นระบบจะท าให้
                  การการจัดการความขัดแย้งมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล กล่าวคือ ได้ท าการวิเคราะห์ในภาพรวม และบริบทที่

                  เกี่ยวข้อง และการเตรียมตัวที่ดีจะท าให้การแก้ไขปัญหาลุล่วง การวิเคราะห์ความขัดแย้งอย่างเป็นระบบ ยังเป็น

                  เครื่องมือหนึ่งที่ UN และ OSCE ใช้เป็นส่วนหนึ่งของการเตือนภัยล่วงหน้าของความขัดแย้ง (Early Warning
                  System and Response, EWRS) เป็นการเตือนภัยล่วงหน้าว่าจะเกิดความขัดแย้งรุนแรง


                             ความขัดแย้งเกิดขึ้นได้ตลอดเวลาไม่ว่าจะในจิตใจของเรา หรือเมื่อเรามีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น การที่จะ
                  สามารถจัดการความขัดแย้งได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต้องเริ่มจากการวิเคราะห์ความขัดแย้ง (Conflict

                  Analysis) อย่างเป็นระบบ ซึ่งจะท าให้เข้าใจก าเนิดธรรมชาติ พลวัตและความเป็นไปได้ในการจัดการความขัดแย้ง
                  (Miall, Ramsbotham, & Woodhouse, 1999, p. 20) การวิเคราะห์ความขัดแย้งท าได้โดยพิจารณาหาผู้มีส่วนได้

                  ส่วนเสียกับคู่กรณี ประเด็นขัดแย้ง การแยกแยะและระบุมุมมองของทุกฝ่ายที่มีส่วนได้ส่วนเสียหรือคู่กรณี การหา

                  ต้นตอที่แท้จริงของปัญหาความขัดแย้ง (Source) พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างกันที่ผ่านมาและในปัจจุบันเป็น
                  อย่างไร  ประเมินว่าความขัดแย้งนั้นมีแนวโน้มขยายตัว (Escalation) มากขึ้นหรือลดลง (De-Escalation) การศึกษา

                  พฤติกรรมที่กระท าต่อกัน รูปแบบวิธีการที่บุคคลเหล่านั้นใช้ในการจัดการความขัดแย้ง การวิเคราะห์อ านาจของ
                  คู่กรณี  การพิจารณาถึงบริบททางประวัติศาสตร์ การประเมินทางเลือกต่าง ๆ (Options) การประเมินความเป็นไปได้

                  ที่จะเจรจาไกล่เกลี่ย และการเจรจาโดยค้นหาจุดยืนและจุดสนใจ (Morris, 2018)


                                                                -14-
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29