Page 94 - 22825_Fulltext
P. 94

2-54



                  ความรุนแรงทางกายภาพที่สามารถเห็นได้อย่างชัดเจนท าให้เกิดการสูญเสียทรัพยากรด้านต่าง ๆ และสามารถ
                  ผลักดันให้เกิดการใช้ความรุนแรงต่อไปได้อย่างไม่หยุดยั้ง ความรุนแรงที่เกิดขึ้นไม่เป็นผลดีกับทั้งสังคมไม่ว่าจะ
                  เป็นในระดับครอบครัว ชุมชนหรือระดับประเทศ   แนวคิดในการประเมินด้านนี้ คือ

                  ความรุนแรงทางกายภาพที่สามารถเห็นได้อย่างชัดเจนท าให้เกิดการสูญเสียทรัพยากรด้านต่าง ๆ และสามารถ
                  ผลักดันให้เกิดการใช้ความรุนแรงต่อไปได้อย่างไม่หยุดยั้ง ความรุนแรงที่เกิดขึ้นไม่เป็นผลดีกับทั้งสังคมไม่ว่าจะ
                  เป็นในระดับครอบครัว ชุมชนหรือระดับประเทศ ความรุนแรงทางกายภาพในด้านที่ 1 นี้ เป็น เป็นการวัด

                  ความรุนแรงทางกายภาพที่กระทบต่อประชาชนในวงกว้างและมีความยืดเยื้อ  ศึกษาจากทฤษฎี
                  ความขัดแย้งที่ยืดเยื้อเรื้อรัง ในงานนี้เน้นไปที่ความรุนแรงทางการเมืองและเหตุการณ์ความไม่สงบ
                  ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยวัดมุมมองต่อเหตุการณ์ทางการเมืองในระดับประเทศและระดับชุมชน และ
                  ครอบครัว รวมถึงการศึกษาข้อมูลสถิติการสูญเสียชีวิตจากเหตุการณ์ความไม่สงบใน
                  จังหวัดชายแดนภาคใต้และผลกระทบของการก่อการร้าย ซึ่งวัดจากจ านวนเหตุการณ์การก่อการร้าย จ านวน

                  ของผู้เสียชีวิต จ านวนของผู้บาดเจ็บและจ านวนทรัพย์สินที่เสียหาย

                         ด้านที่ 2 ความปลอดภัยและความมั่นคงในสังคม

                         ประเมินความปลอดภัยและความมั่นคงในสังคม โดยเก็บข้อมูลจากสถิติจากหน่วยงานต่าง ๆ อาทิ
                  จ านวนของการฆาตกรรม จ านวนของประชากรในเรือนจ า  จ านวนเจ้าหน้าที่ต ารวจ และจ านวนคดีทางเพศ
                  และท าร้ายร่างกาย (สถิติการรับแจ้งเหตุ) รวมถึงการประเมินมุมมองด้านความปลอดภัยจากการส ารวจ
                  ความเห็นของประชาชน  ความปลอดภัยและความมั่นคงในสังคมจะเกิดขึ้นสูง  ด้วย

                  การไม่มีการฆาตกรรม ไม่มีการท าร้ายในครอบครัว ไม่มีการท าร้ายร่างกายหรือมีไม่มากนัก ประชากรใน
                  เรือนจ าก็จะมีน้อย รวมถึงจ านวนเจ้าหน้าที่ต ารวจก็จะมีน้อยในการรักษาความสงบเรียบร้อย
                         ด้านที่ 3 การยอมรับความแตกต่างหลากหลาย/การไม่ถูกเลือกปฏิบัติ/การเคารพ
                  สิทธิมนุษยชน

                         ประเมินมุมมองของประชาชนต่อการยอมรับความแตกต่างหลากหลาย/การไม่ถูกเลือกปฏิบัติ/การ
                  เคารพสิทธิมนุษยชน โดยวัดมุมมองของประชาชนต่อการยอมรับให้กลุ่มที่แตกต่างจาก
                  คนทั่วไปนั้นมีบทบาททางสังคมและการเมือง อีกทั้ง มุมมองต่อการถูกเลือกปฏิบัติในการใช้บริการภาครัฐ และ
                  มุมมองต่อเสรีภาพในการแสดงออกทางการเมือง รวมถึงมุมมองต่อเสรีภาพของสื่อมวลชน

                  บนพื้นฐานความเชื่อว่าความแตกต่างน าไปสู่สันติสุขในสังคม โลกจะเกิดความสงบสุขได้นั้น มีเงื่อนไข 2
                  ประการคือ ความหลากหลายและการพึ่งพากันและกันในธรรมชาติ การที่โลกขาดความหลากหลายและการ
                  พึ่งพากันนั้น จะน าไปสู่จุดจบของมนุษยชาติ การเคารพในความแตกต่าง และการใช้ลักษณะของความแตกต่าง
                  ให้ เกิดการ ส ร้ างส ร ร ค์  ด้ว ยการ ร่ ว มมือร่ ว มใจ กั น   สั น ติภ าพของโ ล กจ ะเ กิด ขึ้ น ไ ด้

                  อย่างแท้จริง
                         ด้านที่ 4 มีความเหลื่อมล้ าในสังคมน้อยและมีการกระจายทรัพยากรที่เป็นธรรม
                         ประเมินความเหลื่อมล้ าในสังคมและการกระจายทรัพยากรที่เป็นธรรม โดยเก็บข้อมูลจากการวัด
                  ความเห็นในด้านมุมมองต่อความเหลื่อมล้ าในสังคม รวมถึงการเก็บข้อมูลสถิติจากหน่วยงานต่าง ๆ อาทิความ

                  เห ลื่ อมล้  าด้านร าย ได้ คว ามเห ลื่ อมล้ าด้านทรั พย์สิ นการเงิน คว ามเห ลื่ อมล้  าด้าน
                  การถือครองที่ดิน ด้านสาธารณสุขและการศึกษาบนฐานความเชื่อที่ว่าประเทศที่มีสันติภาพจะมี
                  ความเท่าเทียมในการเข้าถึงทรัพยากร โดยที่ความไม่เท่าเทียมกันในด้านรายได้ (คนจนกับคนรวย) ทรัพย์สิน
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99