Page 90 - 22825_Fulltext
P. 90

2-50



                  การอยู่ร่วมกับผู้อื่น กล่าวคือ การมีความรักความ สามัคคีและความปรองดองในชุมชน 3. มิติ
                  ด้านจิตใจ ได้แก่ การมีธรรมะเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของคนในชุมชน  4.มิติด้านปัญญา เป็น

                  การสะท้อนถึงปัญญาของชุมชนในการแก้ ปัญหาด้วยปัญญา การรู้เท่าทันโลกและการปรับตัวให้เข้ากับการ
                  เปลี่ยนแปลงโดยยังคงรักษาวิถีชุมชนไว้ได้ 5. มิติด้านผู้น า ผู้น าทั้งด้านผู้น าศาสนาและ

                  ผู้น า ชุมชน หรือผู้น าทางจิตวิญญาณ สามารถน าพาชุมชนก้าวผ่านความขัดแย้ง และสร้างสันติสุขให้กับชุมชน
                  จาก 5 มิติที่ส าคัญดังกล่าว  ควรใช้หลักการ  ส าคัญ คือ การใช้พลัง อ่อนนุ่มที่มาจาก
                  2 ตัวประกอบส าคัญ ได้แก่ 1) ธรรมะ D = Dhrama คือ ความเชื่อความศรัทธาในศาสนาเป็นรากฐาน น าพาให้

                  เข้าถึงสันติสุข 2) อุดมการณ์และความเชื่อมั่นในกระบวนการสันติวิธี P = Peaceful means ทั้งสองหลักการนี้
                  เป็น เบ้าหลอมของตัวบุคคล ที่เป็นแกนกลางของการพัฒนาชุมขนสันติสุข ได้แก่ ผู้น า สมาชิกชุมชนและ

                  เ ค รื อ ข่ า ย เ พื่ อ ท  า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร พั ฒ น า ท ง ก า ย ภ า พ   คุ ณ ธ ร ร ม ข อ ง ก า ร อ ยู่ ร่ ว ม กั น
                  ในสังคม  (ขันทอง วัฒนะประดิษฐ์, 2560)


                           งานวิจัยถอดบทเรียนการจัดการความขัดแย้งของชุมชนต้นแบบ 3 แห่ง ดังกล่าวได้พัฒนามาจากงาน
                  ของ รศ.ดร.พระมหาหรรษา ธรรมหาโส ที่เน้น ความซื่อสัตย์สุจริตให้เกิดขึ้นในระดับหมูบ้าน หรือ “หมู่บ้านช่อ
                  สะอาด”  “ความสะอาดในสังคม และประเทศชาติ เริ่มต้นจากจุดเล็ก ๆ ในชุมชน โดยการพัฒนาจากกลุ่มคน

                  ต่าง  ๆ  ที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้าน  ทั้งในมิติของกาย  พฤติกรรม  จิตใจ  และปัญญา  ให้ตระหนักรู้ถึงคุณค่าและ
                  ความส าคัญของความซื่อสัตย์สุจริต  (Integrity)”  ความซื่อสัตย์สุจริตนั้น  เป็นความซื่อสัตย์สุจริตที่สะท้อนผ่าน

                  ทั้ง 4 มิติ คือ (1) กายซื่อสัตย์สุจริต (เพื่อความอยู่รอดทางกายภาพ) (2) พฤติกรรมซื่อสัตย์สุจริต (ตามหลักศีล
                  5) (3)จิตใจซื่อสัตย์สุจริต (ละอายต่อการทั่วชั่วและเกรงกลัวต่อการทุจริต) และ (4) ปัญญาซื่อสัตย์สุจริต  (ใช้
                  ปัญญาเพื่อประโยชน์ต่อชุมชน)  ตัวแปรส าคัญที่จะน าไปสู่การพัฒนาตามรูปแบบนี้  คือการใช้พลังของ  “บวร”

                  คือ บ้าน วัด และโรงเรียน โดยการท าหน้าที่ในการเชื่อมประสาน และกล่อมเกลาศาสนิกต่าง ๆ ในหมู่บ้านให้เกิด
                  การตระหนักรู้    เกิดความละอายชั่ว  และเกรงกลัวการทุจริตคิดคิดชุมชนของตัวเอง  หากคนในสังคมเกิดการ

                  ตระหนักรู้ว่า  การคดโกงทรัพยากรซึ่งเป็นสมบัติสาธารณะในชุมชนย่อมส่งผลต่อการคดโกงทรัพยากร  หรือแย่ง
                  ชิงอนาคตลูกหลานของตนเองแล้ว เชื่อมั่นชุมชนย่อมเกิดพลังในการรักษาทรัพยากร หรือใช้ทรัพยากรในชุมชน

                  ให้เกิดความคุ้มค่ามากที่สุดอีกทั้งจะเป็นพลังส าคัญในการปกป้อง  และคุ้มครองผลประโยชน์ของชุมชนเอาไว้
                  โดยมิให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดแย่งชิงไปเป็นสมบัติส่วนตน (พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส, 2558)


                           2.ดัชนีและตัวชี้วัด รวมถึงองค์ความรู้อื่นที่เกี่ยวข้องกับดัชนีสันติภาพ

                           การศึกษาชุมชนในบทความนี้หมายรวมถึงชุมชนที่เป็นประชาธิปไตย ประชาธิปไตยชุมชน เป็น
                  กระบวนการมีส่วนร่วมที่ริเริ่มโดยชุมชนแล้วดึงภาครัฐเข้ามามีส่วนร่วม เรียกว่า การมีส่วนร่วมของรัฐ(กับ

                  ประชาชน) ไม่ใช่การมีส่วนร่วมของประชาชน (กับรัฐ) กระบวนการดังกล่าวเน้นการมีส่วนร่วมที่ภาครัฐมาเข้า
                  ร่วมในฐานะหุ้นส่วนหรือภาคีพันธมิตร มิใช่ในฐานะหน่วยงานที่มารับข้อเสนอเท่านั้น หากแต่เป็นหน่วยงาน

                  ภาครัฐที่มาร่วมกับประชาชนตามหลักการมีส่วนร่วมที่มีความหมาย  (ทศพล สมพงษ์, 2555)

                           ความรู้สึกว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมในการปกครอง การกดขี่น ามาสู่การใช้ความรุนแรง

                  ทางการเมืองในหลายประเทศ อย่างไรก็ตามความเป็นธรรมมีหลากหลายมิติ พิจารณาจากงานวิจัย “ดัชนีความ
                  เป็นธรรมในสังคม” ได้จัดท าขึ้นตั้งแต่ปี 2559 ต่อเนื่องปี 2562 เริ่มต้นจากการส ารวจ
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95